วิถีชุมชน: พื้นที่ประกอบสร้างอัตลักษณ์เชิงคุณค่าผู้สูงอายุ
คำสำคัญ:
อัตลักษณ์, ผู้สูงอายุ, วิถีชุมชนบทคัดย่อ
สังคมประกอบสร้างอัตลักษณ์ผู้สูงอายุเชิงลบ คือความอ่อนแอ เพื่อเป็นภาพแทนผู้สูงอายุแบบเหมารวม ซึ่งไม่สามารถอธิบายผู้สูงอายุได้ทั้งหมด ด้วยผู้สูงอายุมีความแตกต่างและหลากหลาย ทั้งสถานะทางเศรษฐกิจ สุขภาพ บทบาททางสังคม ผู้สูงอายุส่วนหนึ่งปฏิเสธอัตลักษณ์เชิงลบด้วยการประกอบสร้างอัตลักษณ์ความมีคุณค่าผ่านวิถีความเป็นอยู่ วิถีครอบครัว วิถีเครือญาติ และวิถีชุมชน ด้วยการทำกิจกรรมชุมชน สร้างความมีคุณค่าในตัวเองของผู้สูงอายุ และคุณค่าในฐานะเป็นเครื่องมือให้เกิดประโยชน์ต่อสิ่งอื่น ดังนั้นการเข้าใจผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เกิดการปฏิบัติต่อผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม
References
กาจร หลุยยะพงศ์, และกาญจนา แก้วเทพ. (2555). การสื่อสารกับอัตลักษณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
จุฬา จงสถิตย์ถาวร. (2560). กฎหมายการจ้างแรงงานสูงอายุ. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 8(1).
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร (2560). วาทกรรมการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 6) กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ธนยศ สุมาลย์โรจน์ และฮานานมูฮิบบะตุดดีน นอจิ สุขไสว. (2558). ผู้สูงอายุในโลกแห่งการทำงาน: มุมมองเชิงทฤษฎีทางกายจิตสังคม. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(1).
นิลภา จิระรุตนวรรณ และขนิษฐา นันทบุตร. (2557) คุณค่าผู้สูงอายุในวิถีชีวิตชุมชนชนบท. วารสารพยาบาลศาสตร์สุขภาพ; 37(1).
ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2561). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์. (2558). เสียงจากผู้สูงอายุ : การต่อสู้และการสร้างพื้นที่ทางสังคม. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน; 1(3).
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2556). การสูงอายุทางประชากรและมโนทัศน์ใหม่ นิยามผู้สูงอายุไทย. เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ .สังคมไทยจะก้าวไปอย่างไรบนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร วันศุกร์ที่ 26 เมษายน 2556, กรุงเทพฯ, ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์.
ศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2016). การเหยียดทางอายุ: สิ่งที่คนในสังคมควรตระหนัก. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ; 15(60-65)
สมชาย ชัยจันทร์ และ ขนิษฐา นันทบุตร. (2561). วาทกรรมคุณค่าผู้สูงอายุในชุมชน.วารสารพยาบาลศาสตร์สุขภาพ; 41(1).
สโรชพันธุ์ สุภาวรรณ์, และชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2557). การประกอบสร้างภาพลักษณ์ของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์, 10(1), 93-136.
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2561). อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
Cumming, E., & Henry, W.E. (1961). Growing old, the process of disengagement. New York: Basic Books.
Lipsky M.S., King M. (2015). Biological theories of aging. Disease-a-Month 61.
Neal S., Fedarko. (2018). Theories and Mechanisms of Aging. Springer International Publishing.
Theodore C. Goldsmith. (2014). An Introduction to Biological Aging Theory. Azinet Press.
Wernher I., Lipsky M.S. (2015) Psychological theories of aging. Disease-a-Month 61.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว