การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกในสมองรุนแรงโดยใช้ระบบสัญญาณเตือนก่อนเข้าสู่ภาวะวิกฤติ (MEWS)

ผู้แต่ง

  • กรองจิตต์ เล็กสมบูรณ์สุข

คำสำคัญ:

แนวทางการประเมินสัญญาณเตือนการเข้าสู่ภาวะวิกฤติ (MEWS) ภาวะเลือดออกใต้เยื่อ หุ้มสมอง การพยาบาล

บทคัดย่อ

          การบาดเจ็บที่ศีรษะจัดเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุข และเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและการเสียชีวิตที่สำคัญของผู้ป่วยบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทุกประเภท เพราะการบาดเจ็บทางสมอง (traumatic brain injury:TBI) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมองจากมีแรงภายนอกมากระทบกระแทกที่ศีรษะ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นกับสมองอาจก่อให้เกิดเลือดออกในสมองได้หลายตำแหน่ง และมีอาการแตกต่างกันออกไป โดยความรุนแรงขึ้นอยู่กับแรงที่มากระทำและตำแหน่งของสมองส่วนที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งผู้ป่วยที่บาดเจ็บทางสมองอาจหมดสติหรือไม่ก็ได้ ซึ่งภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง (subdural hematoma ) เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้ป่วยที่มีอาการทางรุนแรงมีโอกาสเสียชีวิตได้มากถึงร้อยละ 90 ดังนั้นการเฝ้าระวังผู้ป่วยโดยใช้สัญญาณเตือนภาวะวิกฤต (MEWS) จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันอันตราย อาการทางด้านร่างกายของผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉินที่อาจมีอาการเปลี่ยนแปลงนำไปสู่ความผิดปกติได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัยกรณีศึกษาครั้งนี้นำเสนอการพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะโรคที่มีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองโดยใช้กระบวนการพยาบาล ในด้านการประเมินติดตามอาการทางระบบประสาท ที่ประกอบด้วย glasgow coma scale, motor power, pupil, vital sign และใช้แบบประเมิน MEWS อย่างใกล้ชิด รวมถึงการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ที่น่าเชื่อถือและทันสมัย มาวางแผนกิจกรรมการพยาบาล พร้อมทั้งเฝ้าระวังภาวะเลือดออกซํ้าภายหลังการผ่าตัด ตลอดจนการส่งเสริมฟื้นฟูสภาพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดผลลัพธ์การดูแลที่ดีที่สุดปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

References

กรรณิกา ศิริแสน. (2558). ประสิทธิผลของการใช้ระบบสัญญาณเตือนในการพยาบาลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่,มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ชูขวัญ เรือนศิลา. (2553). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิดเรื้อรังหลังได้รับการผ่าตัด. สืบค้นเมื่อ 10/12/63 จาก http://119.110.207.4/dowload%20file/Personal/Succeed/RN/L6/0601.2_7398/w_chukwan%20ruernsila.pdf

ปนิฏฐา นาคช่วย, ละมัยพร อินประสงค์, วารินทร์ ตันตระกูล, ปดิวรัดา ทองใบ, พิไลวรรณ จันต๊ะนุ.

(2560). MEWS: Adult Pre Arrest Sign กับบทบาทพยาบาล. เวชบันทึกศิริราช. 10 (3), 186-190.

ยุพดี ธัมมิกะกุล. (2563). ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการบันทึกสัญญาณเตือนภาวะวิกฤติใน

ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือด แผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. 3(1); 31-46.

วิบูลย์ เตชะโกศล. (2557). ประสิทธิผลของการพัฒนาระบบทางด่วนพิเศษในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ.ศรีนครินทร์เวชสาร. 29(6), 524-529.

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2562). คู่มือแนวทางการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับ

จังหวัด ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2562. นนทบุรี: ปัญญมิตรการพิมพ์.

สวิง ปันจัยสีห์, นครชัย เผื่อนปฐม, และกุลพัฒน์ วีรสาร. (2556). แนวทางเวชปฏิบัติกรณีสมองบาดเจ็บ.

กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

อรัฐา รังผึ้ง,พิมพ์ภา เตชะกมลสุข และอนงค์ แสงจันทร์ทิพย์. (2556). การบาดเจ็บรุนแรงจากการใช้

รถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2555. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจา สัปดาห์ ,44(31), 481-484.

Chaemlai K, Kitrungrote L, Petpichetchian W. (2013). Development of clinical nursing practice

guidelines for procedural pain management in surgical critical patients, Songklanagarind hospital. Proceeding of the 4th Hat-Yai Academic Conference 2013. 2013,710: 31-39. (In Thai)

Christensen D, Jensen NM, Maaløe R, Rudolph SS, Belhage B, Perrild H. (2011). Nurse-administered

early warning score system can be used for emergency department triage. Dan Med Bull. 58(6):A4221.

Ellenbogen RG, Abdulrauf SI, Sekhar LN. (2012). Principles of Neurological Surgery E-Book.

Elsevier Health Sciences.

Fan JY. (2004). Effect of backrest position on intracranial pressure and cerebral perfusion pressure in

individuals with brain injury: a systemic review. JNN 2004;36(5): 278-88.

Faul M, Xu L, Wald MM, Coronado VG. (2006). Traumatic brain injury in the UnitedStates;

emergency department visits, hospitalizations, and deaths; 2006.

James, S.R., & Ashwill, J.W. (2007). Nursing care of children: principle and practice. Philadelphia:

W.B. Saunder.

Karic T, Roe C, Nordenmark TH, Becker F, Sorteberg A. (2016). Impact of early mobilization and

rehabilitation on global functional outcome one year after aneurysmal subarachnoid haemorrhage.J Rehabil Med, 48(8):676-82.

Ludikhuize J, Smorenburg SM, de Rooij SE, de Jorge E. (2012). Identification of deteriorating

patients on general wards; measurement of vital parameters and potential effectiveness of the Modified Early Warning Score. J Crit Care.2012;27(4):424.e7-13.

Mathukia C, Fan W, Vadyak K, Biege C, Krishnamurthy M. (2015). Modified Early Warning System

improves patient safety andclinical outcomes in an academic community hospital. J Community Hospital Intern Med Perspect. 5(2):26716.

McBryde, F. D., Malpas, S. C., & Paton, J. (2017). Intracranial mechanisms for preserving brain

blood flow in health and disease. Acta Psychologica, 219(1), 274-287.

National Institute of Child Health and Human Development [NICHD]. (2016). Traumatic brain

injury.สืบค้นเมื่อ 28/11/63 จาก http://www.nichd.nih.gov/health/topics/tbi.

Nishijima I, Oyadomari S, Maedomari S, Toma R, Igei C, Kobata S, et al. (2016). Use of a modified

early warning score system to reduce the rate of in-hospital cardiac arrest. J Intensive Care.;4:12.

Nitin Agarwal, MD, Rut Thakkar, Khoi Than, MD, FAANS. (2020). Traumatic Brain Injury. สืบค้น

เมื่อ 29/4/64 จาก https://www.aans.org/Patients/Neurosurgical-Conditions-and-Treatments/Traumatic-Brain-Injury.

Pedersen CM, Rosendahl-Nielsen M, Hjermind J, EgerodI. (2009). Endotracheal suctioning of the adult intubated patient-what is the evidence?. Intensive Crit Care Nurs. 25: 21-30.

Prasat Neurological Institute (Thailand). (2015). Clinical Nursing practice guidelines for stroke

Bangkok: The Institute; 2015.

Rupich K. (2009). The use of hypothermia as a treatment for traumatic brain injury. J Neurosci

Nurs;41(3): 159-67.

Ugras GA, Yuksel S. (2015). Factors affecting intracranial pressure and nursing interventions. J Nurs Care. 1(1): 1-6.

Stafseth SK, Grønbeck S, Lien T, Randen I, Lerdal A. (2016). The experiences of nurses

implementing the Modified Early Warning Score and a 24-hour on-call Mobile Intensive Care Nurse: An exploratory study. Intensive Crit Care Nurs.34:25-3

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30