แบบแผนการดำเนินชีวิตตามความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับ ประชากรวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิกซินโดรม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร

ผู้แต่ง

  • มนต์ทิพา เทพเทียมทัศน์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร

คำสำคัญ:

เมตาบอลิกซินโดรม แบบแผนการดำเนินชีวิต ความรอบรู้ด้านสุขภาพ วัยทำงาน

บทคัดย่อ

           การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาโปรแกรมแบบแผนการดำเนินชีวิตตามความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชากรวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิกซินโดรม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร ในกลุ่มตัวอย่างประชากรวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิกซินโดรม จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูล        ส่วนบุคคล แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบประเมินแบบแผนการดำเนินชีวิต และโปรแกรมแบบแผนการดำเนินชีวิตตามความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชากรวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิกซินโดรม ซึ่งพัฒนาขึ้นจาก     กรอบแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy)    

             ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมแบบแผนการดำเนินชีวิตตามความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชากรวัยทำงาน      มีประสิทธิภาพ และส่งผลลัพธ์ทางคลินิกด้านสุขภาพ โดยที่กลุ่มตัวอย่างมีผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบการวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น มีความแตกต่างกันทุกด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนการเปรียบเทียบแบบแผนการดำเนินชีวิตด้านสุขภาพ ด้านการบริโภค                 การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนด้านการจัดการความเครียด ไม่มีความแตกต่างกัน

References

กลุ่มงานนโยบายเศรษฐกิจการแรงงานระหว่างประเทศ. (2564). รายงานเศรษฐกิจแรงงานระหว่างประเทศ ประจำเดือน มิถุนายน 2564. http://grgo.page.link

กองสถิติสังคม. (2564). การสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ.2564.

กองสุขศึกษา. (2563). รวมเทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน.กระทรวงสาธารณสุข.

กองสุขศึกษา. (2559). รายงานผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพประชาชนวัยทำงาน (อายุ 15 - 59 ปี) ปีงบประมาณ 2559.

กิตติคุณ ยั่งยืน. (2559). ภาวะอ้วนลงพุง ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม. R&D Newsletter, 23(2), 17-20.

จริยา ทรัพย์เรือง, บุบผา วิริยรัตนกุล, และพัชรินทร์ สังวาลย์. (2564). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้รับบริการกลุ่มวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิก

ซินโดรม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษวิทยาเชิงพุทธ, 6(8),386–399

ดลชย เลิศวิจิตรอนันต์, นัฐติยา แท่นทอง, และวรรณา วรรณศรี. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา. 7(2), 281–289.

พิทยา ไพบูลย์ศิริ. (2561). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ของผู้บริหารภาครัฐ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 8(1), 97–107.

รุ่งนภา อาระหัง. (2560). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงสำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท]. มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : แนวคิดและการประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี, 44(3), 183–197.

วัฒนา ศรีวิลัย, และกล้าหาญ ณ น่าน. (2564). ความเครียดและความเหนื่อยหน่ายในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท ไฟน์ เม็ททัล เทคโนโลยีส์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(2), 34–42.

วริษา กันบัวลา, ณชนก เอียดสุย, และอาภรณ์ ดีนาน. (2564). ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและระดับไขมันในเลือดของผู้ที่มีไขมันในเลือดผิดปกติ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 29(3), 1–14.

วิชัย เอกพลาการ. (2564). การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562–2563. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษากราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

ศุทธินี วัฒนกุล, ศศิธร ชิดนายี, พิเชษฐ์ แซ่โซว, ดำริห์ ทริยะ, ศิวิไล ปันวารินทร์, และพรฤดี นิธิรัตน. (2563). ความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 12(2), 72-82.

ศิริลักษณ์ ขณะฤกษ์, และอุบล จันทร์เพชร. (2562). พฤติกรรมสุขภาพของวัยทำงานอายุ 15 – 59 ปี ในเขตสุขภาพที่ 5. วารสารช่อพะยอม, 30(1), 1–13.

สุภาวดี กลัดทองและ ณริณี แย้มสกุล. (2564). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 2 อ ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพและระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิชาการและการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช, 1(2), 14–26.

สุวรรณา มณีนิธิเวทย์. (2563). ผลของโปรแกรมการดูแลตนเองผ่านระบบเครือข่ายสังคมต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและผลลัพธ์ด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในบุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. Thai Journal of Public Health, 50 (1), 47–60.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). บทสรุปสำหรับผู้บริหาร การสำรวจผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ต่อครัวเรือนในประเทศไทย พ.ศ.2565.

สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. (2564). การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคของบุคลากรด้านสาธารณสุข.

เอื้อจิต สุขพูล, ชลดา กิ่งมาลา, ภาวิณี แพงสุข, ธวัชชัย ยืนยาว, และวัชรีวงค์ หวังมั่น. (2563). ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพสำหรับประชาชนกลุ่มวัยทำงาน. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(3), 419-429.

Faul F. , Erdfelder E., Buchner A. & Lang A. G. (2007). G*Power 3:A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. https://www.psychologie.

Holloway KA, & van Dijk L. (2011). The world medicines situation 2011 (3rd ed.), Rational use of medicines. World Health Organization, Geneva, Switzerland: http://www.who.int/medicines/areas/policy/world_medicines_situation/en/index.html

World health Organization. (2022). Noncommunicable diseases.

https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-17