รูปแบบการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในบทบาทผู้จัดการระบบสุขภาพการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนในทัศนะผู้บริหาร
คำสำคัญ:
การจ้างงาน พยาบาลเกษียณอายุ ผู้จัดการระบบสุขภาพการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนบทคัดย่อ
รายงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุตามบทบาทผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมในทัศนะผู้บริหาร รูปแบบเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารส่วนกลางและส่วนภูมิภาคซึ่งมีส่วนในการกำหนดนโยบาย โดยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นกลุ่มผู้บริหารที่กำหนดนโยบายในหน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 9 คน ส่วนภูมิภาค จำนวน 43 คน และกรรมการบริหารกองทุน จำนวน 38 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริหารในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเห็นว่ามีความเป็นไปได้ในการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในการเป็นผู้จัดการระบบสุขภาพ รูปแบบการจ้างงาน มี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบทีมพยาบาลและแบบรายบุคคล โดยควรใช้งบประมาณในส่วนของท้องถิ่นเป็นหลัก อัตราค่าจ้างประมาณ 15,000-30,000 บาทต่อเดือน ลักษณะการทำงานเป็นแบบยืดหยุ่นและแบบเต็มเวลา การกำหนดคุณสมบัติของผู้จัดการระบบสุขภาพมี 2 แนวทาง คือ 1) ควรเป็นพยาบาลวิชาชีพเท่านั้น และ 2 ) ไม่จำเป็นต้องเป็นพยาบาลวิชาชีพ โดยเหตุผล 2 ประการ ประการแรก ผู้บริหารเชื่อว่าอาชีพอื่นที่ทำงานในชุมชนเป็นเวลานานสามารถทำหน้าที่ได้ ประการที่สองหน่วยงานสามารถค้นหาบุคคลที่มีความสามารถตามที่ต้องการได้
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจ้างงานพยาบาลเกษียณ สามารถดำเนินการจ้างงานได้แต่ควรมีการแก้ไขกฎระเบียบให้สอดคล้องกับสถานการณ์ความเป็นจริง ควรพิจารณาแนวทางที่เหมาะสมในการจ้างงานพยาบาลเกษียณ รวมทั้งส่งเสริมสมรรถนะในการทำงานการดูแลผู้สูงอายุโดยจัดอบรมแก่พยาบาลเกษียณอายุ
References
กฤษดา แสวงดี. (2015, 2 สิงหาคม). อีก10 ปีวิกฤตหนักขาดแคลนพยาบาลhttps://www.hfocus.org/content/2015/04/9830
ผ่องพรรณ อรุณแสง, วรรณภา ศรีธัญรัตน์ , เรมวล นันท์ศุภวัฒน์, วันเพ็ญ แก้วปาน และคณะ. (2555). สถานการณ์การทำงานและสุขภาวะของอาจารย์พยาบาลไทยที่ปฏิบัติงานในสถาบันการศึกษาพยาบาลภายหลังเกษียณอายุราชการ.วารสารสภาการพยาบาล, 27(2), 63-80.
ปิยพัฒน์ ประทุมธารารัตน์. (2559). การศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายอายุเกษียณการทำงาน กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน). (การค้นคว้าอิสระหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ). คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วรเวศม์ สุวรรณระดา, ดำริ เฉลิมวงศ์, วิลาวัลย ดำจุติ , สุภาภรณ์ คำเรืองฤทธิ์, จริยภัทร บุญมา, ณัฐพงษ์ พบสมัย,กิตติพร สินธุประภา,ศะมนต์ สุขสุมิตร,
ประภาพร พรหมเมตจิตผล และตินา กนกธนาพร. (2553). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยระบบการดูแลระยะยาวเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงเพื่อวัยสูงอายุ. บริษัท ศักดิโสภาการพิมพ์ จำกัด.
วันเพ็ญ แก้วปาน, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, สุรินธร กลัมพากร และจุฑาธิป ศีลบุตร. ( 2563). สถานการณ์การจ้างพยาบาลเกษียณอายุในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข,14 (4), 417-430.
วันเพ็ญ แก้วปาน, สุรินธร กลัมพากร,จุฑาธิป ศีลบุตร, สุปรีดา มั่นคง,และธีรพร สถิรอังกูร. (2564). รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบบริการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยการเสริมสร้างสมรรถนะและการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในบทบาทผู้จัดการระบบสุขภาพในชุมชน.
เมตตาพริ้นติ้ง จำกัด.
วิจิตร ศรีสุพรรณ และ กฤษดา แสวงดี. (2555). ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย. วารสารสภาการพยาบาล, 27(1),
-12.
ศุภชัย ศรีสุชาติ. (2559, 12 พฤษภาคม). กรอบแนวคิดการจ้างงานผู้สูงอายุ.เอกสารเสนอในการประชุมสัมมนาเรื่อง แรงงานสูงวัย ลมหายใจของอนาคต. http://thaitgri.org/?p=37647
สภาการพยาบาล. (2565).แผนกลยุทธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2565–2569 สภาการพยาบาล.บริษัท สำนักพิมพ์สื่อตะวัน จำกัด.
สำนักการพยาบาล, สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข,กระทรวงสาธารณสุข. (2557). หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลผู้จัดการสุขภาพชุมชน. ห้างหุ้นส่วนจำกัดเทพเพ็ญวานิสย์.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2559). คู่มือระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Long Term Care) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปี 2559.
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ และ กนิษฐา บุญธรรมเจริญ. (2553) . รายงานการสังเคราะห์ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวสำหรับประเทศไทย. ทีคิวพีจำกัด.
Agosti, M. T., Andersson, I., Ejlertsson, G., & Janlöv, A. (2015). Shift work to balance everyday life – A salutogenic nursing perspective in home help service in Sweden. BMC Nursing, 14, 2.
Bratt, C., & Gautun, H. (2018). Should I stay or should I go? Nurses’ wishes to leave nursing homes and home nursing. Journal of Nursing Management, 26(8), 1074-1082.
Chu, C. H., Wodchis, W. P., & McGilton, K. S. (2014). Turnover of regulated nurses in long-term care facilities. Journal of Nursing Management, 22(5), 553-562.
Dhaini, S. R., Zúñiga, F., Ausserhofer, D., Simon, M., Kunz, R., De Geest, S., & Schwendimann, R. (2017). Are nursing home care workers’ health and presenteeism associated with implicit rationing of care? A cross-sectional multi-site study. Geriatric Nursing, 38(1), 33-38.
Duffield, C., Graham, E., Donoghue, J., Griffiths, R., Bichel-Findlay, J., & Dimitrelis, S. (2015). Why older nurses leave the workforce and the implications of them staying. J Clin Nurs, 24(5-6), 824-831. https://doi.org/10.1111/jocn.12747
Gavrilov, L. A., & Heuveline, P. (2003). Aging of Population. In P. Demeny & G. MacNicoll (Eds.), Encyclopedia of Population (pp. 32-37). Macmillan Reference.
Kaewpan, W., Peltzer, K., Kalampakorn, S., & Moolsart, S. (2017). Professional quality of life among postretired academic university employees in Thailand. Social Behavior and Personality: An international Journal, 45( 4) , e5913. http://doi: 10.2224/sbp.5913
Knecht, P., Milone-Nuzzo, P., Kitko, L., Hupcey, J. E., & Dreachslin, J. (2015). Key attributes of LPN job satisfaction and dissatisfaction in long-term care settings. Journal of Nursing Regulation, 6(2), 17-24.
Maurits, E. E. M., de Veer, A. J., van der Hoek, L. S., & Francke, A. L. (2015). Autonomous home-care nursing staff are more engaged in their work and less likely to consider leaving the healthcare sector: A questionnaire survey. International Journal of Nursing Studies, 52(12),
-1823.
Mazurenko, O., Gupte, G., & Shan, G. (2015). Analyzing U.S. nurse turnover: Are nurses leaving their jobs or the profession itself? Journal of Hospital Administration, 4(4), 48-56.
McGilton, K. S., Boscart, V. M., Brown, M., & Bowers, B. (2014). Making tradeoffs between the reasons to leave and reasons to stay employed in long-term care homes: Perspectives of licensed nursing staff. International Journal of Nursing Studies, 51, 917-926.
McGilton, K. S., Tourangeau, A., Kavcic, C., & Wodchis, W. P. (2013). Determinants of regulated nurses’ intention to stay in long-term care homes. Journal of Nursing Management, 21(5), 771-781.
Rossman TL. Older home health registered nurses: Work perceptions and satisfaction. Dissertation Submitted to the School of Graduate Studies and Research in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree Doctor of Philosophy, Indiana University of Pennsylvania. August 2011. Google Scholar
Squires, J. E., Baumbusch, J., Varin, M. D., MacDonald, I., Chamberlain, S., Boström, A., Thompson, G., Cummings, G., & Estabrooks, C. A. (2019). A profile of regulated nurses employed in Canadian long-term care facilities. Canadian Journal on Aging, 38(2), 130-142.
Sulander, J., Sinervo, T., Elovainio, M., Heponiemi, T., Helkama, K., & Aalto, A. (2016). Does organizational justice modify the association between job involvement and retirement intentions of nurses in Finland? Research in Nursing & Health, 39(5), 364-374.
Tourangeau, A. E., Patterson, E., Saari, M., Thompson, H., & Cranley, L. (2017). Work-related factors influencing home care nurse intent to remain employed. Health Care Management Review, 42(1), 87-97.
Yamaguchi, Y., Inoue, T., Harada, H., & Oike, M. (2016). Job control, work-family balance and nurses’ intention to leave their profession and organization: A comparative cross-sectional survey. International Journal of Nursing Studies, 64, 52-62
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว