ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้อันตรายจากควันบุหรี่มือสองและ พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวมุสลิมที่มีผูสู้บบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส

Main Article Content

สาวิณี ชาญสินธพ

Abstract

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างการรับรูอั้นตรายจากควันบุหรี่มือสองและพฤติกรรม สุขภาพของสมาชิกครอบครัวมุสลิมที่มีผูสู้บบุหรี่ในจังหวัด นราธิวาส กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกในครอบครัวมุสลิมที่มี ผู้สูบบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส จำนวน 200 คน ใช้เครื่องมือ วิจัยจำนวน 3 ชุด คือ (1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (2) แบบสอบถามการรับรู้อันตรายจากการสูบบุหรี่ และ (3) แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 15-25 ปี มีผู้สูบบุหรี่ในบ้าน 1-2 คน ได้กลิ่นบุหรี่ ทุกวัน เคยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอันตรายจาก ควันบุหรี่มือสอง และการเจ็บป่วยที่พบมากที่สุด คือ อาการไอ กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้อันตรายจากควันบุหรี่มือสองระดับ ดี (\inline \dpi{80} \bar{X} = 78.6, SD = 9) และมีพฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว ระดับดี (\inline \dpi{80} \bar{X} = 34.6, SD = 7.7) ผลการวิเคราะห์ความ สัมพันธ์พบว่า การรับรู้อันตรายจากควันบุหรี่มือสองไม่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว

 

Relationship between perceived hazardous of second-hand smoke and health behavior among Muslim smokers’ family members, Narathiwas Province.

Chansintop, S.

This study aimed to examine associations between perceived hazardous of second-hand smoke and health behaviors among Muslim smokers’ family members in Narathiwas province. Two hundred participants were asked to answer the questionnaire including (1) personal data, (2) perceived hazardous of second-hand smoke and (3) health behavior. Data analysis was performed using descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient.

Findings revealed that majority of the sample were female, aged between 15 - 25 years, having 1-2 smokers in family, being exposed to second-hand smoke everyday, and having cough discomfort. The perceived hazardous of second-hand smoke was at a good level (\inline \dpi{80} \bar{X} =78.6, SD= 9), and the health behavior was also at a good level (\inline \dpi{80} \bar{X} =34.6, SD = 7.7). There was no significantly relationship between perceived hazardous of second-hand smoke and the health behavior (p>.05).

Article Details

How to Cite
ชาญสินธพ ส. (2016). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้อันตรายจากควันบุหรี่มือสองและ พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวมุสลิมที่มีผูสู้บบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส. Thai Journal of Nursing, 63(1), 28–34. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJN/article/view/46729
Section
Research Article