การสูบบุหรี่: สถานการณ์ และพฤติกรรมของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
Main Article Content
Abstract
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานการณ์ การสูบบุหรี่ ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ทัศนคติเกี่ยวกับการ ไม่สูบบุหรี่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ รวมถึง แนวทางในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 343 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ทัศนคติเกี่ยวกับการไม่ สูบบุหรี่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ และความคิดเห็นเกี่ยวกับ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าตํ่าสุด และค่าสูงสุด
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง (ร้อยละ78.13) อายุเฉลี่ย 18.5 ปี ภูมิลำเนาอยู่ใน จังหวัดชัยภูมิ (ร้อยละ 52.77) และไม่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 92.72) ร้อยละ 38.19 ระบุว่ามีคนในครอบครัวสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่เป็นพ่อ ด้านความรู้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับบุหรี่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 63.56 มีทัศนคติ เกี่ยวกับการไมสู่บบุหรี่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.27 และรู้ว่าบุหรี่มีผลเสียต่อสุขภาพ ร้อยละ 96.79 สำหรับ นักศึกษากลุ่มที่สูบบุหรี่ มีสาเหตุที่เริ่มสูบคืออยากทดลอง สูบ ร้อยละ 80.77 และสูบทุกวันร้อยละ 42.31 และร้อยละ 57.69 มีค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่เดือนละ 301-400 บาท เหตุผลในการสูบบุหรี่ที่พบมากที่สุด คือ เพื่อผ่อนคลาย (ร้อยละ76.92) แนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ส่วนใหญ่แก้ปัญหาด้วยตนเองโดยการ “ปฏิเสธ” มากที่สุด (ร้อยละ 53.64) จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าปัญหาการ สูบบุหรี่ยังคงมีอยูแ่ ละมีแนวโน้มว่าอาจจะเพิ่มสูงขึ้นเนื่อง มาจาก การเข้าถึงที่ง่าย ปัจจัย การปรับตัว การดำเนินชีวิต ของนักศึกษา ส่งผลให้เกิดความเครียด สิ่งเหล่านี้มีผลต่อ การเริ่มสูบบุหรี่ ส่วนในกลุม่ ที่สูบบุหรี่นั้นพบว่ายังขาดแรง จูงใจในการที่จะเลิกสูบบุหรี่ เนื่องจากยังไม่ตระหนักถึง ผลเสียที่เกิดจากการสูบบุหรี่
Tobacco smoking: Situation and behavior among first year undergraduate students, Chaiyaphum Rajabhat University.
Buajun, A., & Srimongkol, M.
The objectives of this study were to examine smoking situation, knowledge about tobacco, attitude towards not smoking, smoking behavior, and how to prevent and manage problems of tobacco smoking. Sample was 343 first-year students from all faculties of Chaiyaphum Rajabhat University, academic year 2013. Data was collected using questionnaires. Data analysis was performed and presented in frequency, percentage, mean, standard deviation, and minimum-maximum score.
Results reveal that most respondents were female (78.13%), average was 18.5 years old, and currently live in Chaiyaphum (52.77%) and not smoking (92.72%). Almost 40 percent of the respondents reveal that their family member smoke, most of them were their fathers. The knowledge about tobacco was most found at high level (63.56%). The attitude towards not smoking was at moderate level (63.27%) and most of them (96.79%) knew that smoking could harm their health. Respondents who were smokers told that the most reason of start smoking (80.77%) was just trying and 42.31% of them were smoking everyday. Almost 60% of smokers paid for tobacco at 301-400 bahts per month and the most reason of smoking (76.92%) was for relaxation. The way to prevent and manage problems of smoking was most performed by themselves, as 53.64% of respondents would say “no” for tobacco offering. These results reveal that tobacco smoking is still being the problem and tend to increase from the easy access to tobacco. As freshmen’s stress on lifestyle adaptation and studying, these youth might start smoking. For the smoker students, they had no concern on health hazardous from smoking and had no motivation to stop smoking.