การแปรงฟันกับการป้องกันฟันผุ

Main Article Content

ทรงวุฒิ ดวงรัตนพันธ์
สุวรรณี ดวงรัตนพันธ์
ภาพิมล ชมพูอินไหว
วริศรา ศิริมหาราช

Abstract

การแปรงฟันเป็นมาตรการสำคัญ ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในฟันน้ำนม ร่วมกับมาตรการอื่นๆอันได้แก่ การสร้างความตระหนักรู้และปรับทัศนคติของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากและพฤติกรรมการบริโภคอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย การใช้ฟลูออไรด์และการใช้สารปิดหลุมร่องฟันเพื่อความแข็งแรงให้กับตัวฟัน อย่างไรก็ตามการแปรงฟันในเด็กปฐมวัยก็ยังมีอีกหลายประเด็น ที่ควรค่าแก่การทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ก่อนที่จะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
1.
ดวงรัตนพันธ์ ท, ดวงรัตนพันธ์ ส, ชมพูอินไหว ภ, ศิริมหาราช ว. การแปรงฟันกับการป้องกันฟันผุ. Th Dent PH J [Internet]. 2019 Aug. 30 [cited 2024 May 20];11(1-2):41-8. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ThDPHJo/article/view/212773
Section
Original Article

References

1. Moss S. J.. The relationship between diet ,saliva and baby bottle tooth decay. Int Dent J 1996;46(1): 399 -402.
2. Paunio P., Rautava P., Sillanpaa M., Kaleva O. Dental health habits of 3-year old Finnish children. Community Dent Oral Epidemiol. 1993.Feb; 21(1):4-7.
3. Streckson-Blicks C., Holm AK. Between-meal eating, tooth-brushing frequency and dental caries in 4-year-old children in the north of Sweden. Int J Pediatric Dent. 1995.Jun; 5(2):k67-72.
4. Tsubouchi J, Tsubouchi M, Maynard RJ, Domoto PK., Weinstein P. A study of dental caries and risk factors among Native American infants. ASDC J Dent Child. 1995.Jul-Aug; 62(4):283-7.
5. Douglass JM., Tinanoff N., Tang JM., Altman DS. Dental caries patterns and oral health behavior in Arizona infants and toddler. Community Dent Oral Epidemiol.2001.Feb; 29:14-22.
6. Wendt LK, Hollonsten AL, Koch G and Birkhed D. Oral heath in relation to caries development in migrant status in infants and toddlers. Scand J Dent Res. Oct;102(5) 269-73.
7. Febres C., Echeverri EA., Keene HJ. Parental awareness, habits and social factor and their rela tionship to baby bottle tooth decay. Padiatr Dent. 1997.Jan-Feb; 19(1):22-7.
8. Silver DH. A longtitudinal study of infant feeding practice, diet and caries related to social class in children aged 3 and 8-10 years. Br Dent J 163:296-300
9. Chan SC, Tsai JS and King NM. Feeding and oral hygiene habits of preschool children in Hong Kong. Int J Paediatr Dent 2002 Sep;12(5) 322-31.
10. Habibian M., beighton D., Stevenson R., Lawson M. Relationship between dietary behaviors oral hygiene and mutan streptococci in dental plaque of a group of infants in southern England. Arch Oral Biol. 2002.Jan; 47(6):491-8.
11. Al-Dashti AA., William SA., Curzon ME. Breastfeeding, bottle feeding and dental caries in Kuwait; a country with low-fluoride levels in the water supply. Community Dental Health.1995.Mar; 12(1):42 7. [13-14]
12. William SA., Hargreaves JA. An inquiry into the effect of health related behavior on dental health among young Asian children. Community Dental Health. 1990.Dec; 7(4):413-20.
13. Serwint JR., Mungo R., Negrete VF. Child-rearing practices and nursing caries. Pediatrics. 1993.Aug; 92(2):233-7.
14. Alaluusua S, Mamivirta R. Early plaque accumulation a sign for caries in young children. C nity Dent Oral Epidemiol. 1994; 22:273-6.
15. ชุติมา ไตรรัตน์วรกุล และคณะ การศึกษาประสิทธิภาพของการกําจัดคราบจุลินทรีย์และผลการเกิดแผล nælanvaltuus Valãn 14 bin 3. n26.2536, 43(5):161-66
16. Gertenrich RL., Lewin MJ. A study of automatic and hand tooth brushing as used on retarded of handicapped patients. ASDC J Dent Child 1967 May; 34(3):145-67.
17. Sathananthan K., Vos T., Bango G. Dental caries, fluoride level and oral hygiene pr Dental caries, fluoride level and oral hygiene practices of school children in Matebeleland South Zimbabwe. Community Dent Oral Epidemiol. 1996 Feb; 24(1):21
18. Sangnes G, Zachrisson B, Gjermo P. Effectiveness of vertical and horizontal brushing techniques in plaque removal. ASDC J Dent Child. 1972 Mar-April;39(2):94-7.
19. Levy SM., Warren JJ., Broffitt B. Dental visits and professional fluoride applications for children ages 3 to 6 in lowa. Pediatr Dent 2003 Nov-Dec: 25(6):565-71.
20. 6umbu bños âns la junta Wurnunnslan Isa wwwlwmnriawiylsun any 18-361003 : เปรียบเทียบในชุมชนพุทธและชุมชนมุสลิม อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหา vann (nuonsswornšuán) vunnanundy awasasoianninum . 2547
21. Habibian M, Roberts G, Lawson M, Stevenson R, and Harris S. Dietary habits and dental health over the first 18 months of life. Community Dent Oral Epidemiol 2001 Aug;29(4):239-46.
22. Pine CM., Curnow MM., Burnside G., Nicholson JA. An intervention program to establish 10Regular tooth brushing; understanding parent's belief and motivating children. Int Dent J 2000; suppl creating a successful: 312-23.
23. Curnow MM., Pine CM, Burnside G., Nicholson JA. A randomized controlled trial of the efficacy of supervised tooth brushing in high-caries-risk children. Caries Res. 2002 Jul-Aug; 36(4):294 306.
24. Lo EC., Schwarz E. Determinants for dental visit behavior among Hong Kong Chinese in a longtitudinal study. J Public Health Dent 1998 Summer; 58(3):220-7.
25. Adair SM, Piscetelli WP. Comparison of the use of a child and adult dentifrice by a sample of preschool children. Pediatr Dent. 1997 Mar-Apr; 19(2):99-103
26. Franzman MR., Levy SM., Warren JJ., Broffitt B. Tooth brushing and dentifrice use among children ages 6 to 60 months. Pediatr Dent. 2004 Jan-Feb; 26(1):87-92.
27. วรานุช จิตประไพ วิกุล วิสาลเสสถ์ สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา พวงทอง ผู้กฤตยาคามี วีรวรรณ แตงแก้ว พรพรรณ สุนทรธรรม การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้ยาสีฟันและการแปรงฟันในเด็ก บทคัดย่อ การประชุมวิชาการงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพประจําปี 2545 กองวิชาการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หน้า 78-79
28. วิกุล วิสาลเสสถ์ นนทินี ตั้งเจริญดี, สุรางค์ เชษฐพฤนท์, สุวิภา อนันต์ธนสวัสดิ์, การกลืนยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ในเด็กก่อนวัยเรียน ว ทันต.2546 พ.ค. - มิ.ย.; 53(3): 161-66
29. Bruun C and Thylstrup A. Dentifrice usage among Danish children. J Dent Res.67:1114-1117
30. Bentley EM., Ellwood RP., Davies RM. Factors influencing the amount of fluoride toothpaste applied by the mothers of young children. Br Dent J.1997 Dec13-27; 183(11 - 12:412 -4.
31. Adair PM., Harris R., Nicoll AD., Pine CM. Familial and cultural perceptions and belief of oral hygiene and dietary practices among ethnically and socio-economically diverse groups. Community
Health Dent 2004 Mar;21 (Suppl):102-11.
32. ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร ความคิดความเชื่อ และการปฏิบัติตนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากของชาวบ้าน: กรณีศึกษาในหมู่บ้านแห่งหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543
33. วิภาพร ล้อมศิริอุดม ความเข้าใจและการปฏิบัติแบบชาวบ้านเกี่ยวกับโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย กรณีศึกษาหมู่บ้านแห่งหนึ่งในอําเภอนิคมคําสร้อย จังหวัดมุกดาหารวิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ทันตกรรมสําหรับเด็ก) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
34. ดวงเดือน วีระฤทธิพันธ์, พฤติกรรมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยก่อนเรียนในบริบททางสังคมวัฒนธรรมของชาวเขาหมู่บ้านอีก้อป่ากล้วย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต(ทันตกรรมสําหรับเด็ก) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
35. สุภลักษณ์ ตัตติวัฒนากุล กระบวนการพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่อ้อย อําเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยาวิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ทันตกรรมป้องกัน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547
36. คนึงนิตย์ ปิตอปุญญพัฒน์ บริบททางสังคมวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน ของชนเผ่าอาข่า บ้านห้วยศาลา อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ รายงานการค้นคว้าอิสระสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547
37. ทัศนีย์ มหาวรรณ . พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ส่งเสริมสุขภาพ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2542
38. หฤทัย สุขเจริญโกศล.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับปัจเจกของผู้ปกครอง ปัจจัยทางสังคม วัฒนธรรมและพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก 0-5ปี ตําบลออนกลาง กิ่งอําเภอแม่ออน จังหวัด เชียงใหม่วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ทันตกรรมป้องกัน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545
39. ฉลองชัย สกลวสันต์, บริบทการดําเนินชีวิตของครอบครัวที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ทันตกรรมป้องกัน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547.