การดูแลสุขภาพช่องปากนักเรียนพิการ

Main Article Content

สุณี ผลดีเยี่ยม

Abstract

กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ได้สํารวจสภาวะสุขภาพช่องปาก นักเรียนบกพร่องทางการมองเห็น นักเรียนที่ บกพร่องทางการได้ยิน ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2536 พบ ว่าเมื่อเปรียบเทียบกับนักเรียนทั่วไปในช่วงอายุ เดียวกัน (พ.ศ. 2532) นักเรียนกลุ่มนี้เป็นโรคใน ช่องปากมากกว่าและรุนแรงกว่า (รายละเอียดใน ตารางที่ 1) คือ อายุ 6 ปี นักเรียนทั่วไปเป็นโรค ฟันแท้ผุร้อยละ 19.2 ตุเฉลี่ยคนละ 0.3 ซี่ นักเรียนพิการผุร้อยละ 27.7 ผุเฉลี่ยคนละอายุ 0.5 ซี่ อายุ 12 ปี นักเรียนทั่วไปผุร้อยละ 49.2 ตุ เฉลี่ยคนละ 1.5 ซี่ นักเรียนพิการผุร้อยละ 68.7 ตุ เฉลี่ยคนละ 2.0 ซี่ อายุ 18 ปี นักเรียนทั่วไปมีหินปูนร้อยละ 87.3 ค่าเฉลี่ยส่วนที่มีหินปูนคนละ 4.0 ส่วนใน 6 ส่วน นักเรียนพิการมีหินปูนร้อยละ 94.0 ค่าเฉลี่ยส่วนที่มีหินปูนคนละ 4.4 ส่วนใน 6 ส่วน และยังไม่มีกิจกรรมที่ชัดเจนในการดูแล สุขภาพช่องปากของนักเรียนพิการกลุ่มนี้ในโรงเรียน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
1.
ผลดีเยี่ยม ส. การดูแลสุขภาพช่องปากนักเรียนพิการ. Th Dent PH J [Internet]. 2002 Jun. 24 [cited 2024 Sep. 13];7(1):82-8. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ThDPHJo/article/view/213203
Section
Miscellaneous

References

1. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รายงานการประชุมประเมินผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนาการดูแลทันตสุขภาพนักเรียนพิการหูหนวก, ตาบอดทั่วประเทศระหว่างปีการศึกษา 2538 2539 เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม มิถุนายน 2540
2. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รายงานผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 3 ประเทศไทย 2532 พิมพ์ครั้งที่ 2 โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก กันยายน 2534
3. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หลักการและแนวคิดของการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัทศูนย์การพิมพ์แก่นจันทร์ จํากัด 2540
4. สุณี ผลดีเยี่ยม จิตราภรณ์ ศักรางกูร การสํารวจสภาวะทันตสุขภาพในนักเรียนตาบอดและหูหนวก เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มิถุนายน 2536