พัฒนาการการนำเสนอข้อมูลในแหล่งท่องเที่ยวหมู่บ้านโปรตุเกส หมู่บ้านฮอลันดาและหมู่บ้านญี่ปุ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา/Developing the Interpretation of the Ancient Settlements: the Portuguese, the Dutch and the Japanese, Ayutthaya

Main Article Content

Pimon Kaewdang

Abstract

Abstract

In the province of Ayutthaya, Thailand are various groups of foreign settlements that date from the early 15 to 17 centuries. The focus of the present work is on the vestiges of three ancient settlements, the Portuguese, the Dutch and the Japanese. They are testament to the significance of Ayutthaya in global trade and to Siam’s tolerance – almost unique in that age – towards foreign presence. The study searches for evidence of the views and practices of these three groups of immigrants who were attracted to old Siam and decided to settle there. Understanding the means by which these groups bought new opportunities for themselves, and discovering what they had learned about Siam in the process, would contribute to an understanding of Siam herself.  These political, economic and social factors, in turn, can be interpreted for better understanding of the historical background of Ayutthaya’s foreign quarters, while the descriptive details will be able to convey information about the area’s earlier identity and diversity. Link to this objective is the question of how to depict the past and delineate the present traces of these settlements. The methodology comprised direct observation, interviews with present experts and new immigrants and participant observation of visitors to ascertain their views on the historical background of each period and each settlement. Documentary sources and secondary sources from previous studies were also consulted.

Ayutthaya is distinguished from other cities in that it is represented mostly in ruins that have no part in present everyday life, though it strongly encompassed in the tourist gaze, both domestic and international. That gaze can too often be merely of the picturesque rather than critical, the latter an enquiry through ‘the mind’s eye’. So in the case of Ayutthaya there is an argument for a means of interpretation that can encourage visitors’ transition from that of superficial tourist to a more enquiring and reflective traveler. There are diverse memories of Ayutthaya, in part linked to the diverse communities that resided there. Ayutthaya was primarily a trading city and to a considerable extent cosmopolitan. However, there were always attempts by the government to segregate the foreigner communities. Nevertheless, the foreigners were tolerated, and even on occasion welcomed, a dynamic that marked the beginning of Thai integration, where the diversity found in Ayutthaya persisted into Thonburi and beyond. Therefore, a lesson to be drawn from the history of the foreign quarters in Ayutthaya-Thonburi-Rattanakosin-Bangkok is that Thailand history is one of progressive integration and hybridization. The diversity of identities in modern Thailand – and the increasing diversity – is the result of a long process that can be traced very clearly back to Ayutthaya in the 1600s, and perhaps even further to the 1400s. 

บทคัดย่อ

 

วัตถุประสงค์ในการศึกษาคือนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกหมู่บ้านโปรตุเกสหมู่บ้านฮอลันดา และหมู่บ้านญี่ปุ่นที่มีหลักฐานบ่งชี้ของอาณาจักรอยุธยาด้านความสามารถในการค้าแลกเปลี่ยนระหว่าง ประเทศในอดีตจนถึงปัจจุบันการศึกษาเพื่อสืบค้นหลักฐานมุมมองรูปแบบการดำเนินชีวิตของทั้งสามชนชาติที่ได้รับแรงจูงใจจากสยามจนกระทั่งตัดสินใจตั้งรกรากวิถีชีวิตของสามชนชาติและสิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้จาก สยามในยุคนั้นสามารถสะท้อนความเข้าใจอันดีของพื้นฐานประวัติศาสตร์อีกทั้งได้มีการเฉลิมฉลองความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศโปรตุเกส(500ปี)การเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย กับประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศญี่ปุ่น(400ปี)และได้ร่วมกันสร้างศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวเพื่อให้เป็นที่ ศึกษาประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์อันยาวนานของประเทศไทยและเป็นสถานที่ที่ท่องเที่ยวการศึกษาสถานที่ที่ท่องเที่ยวทั้งสามแห่งนี้ทำให้เกิดคำถามกับการนำเสนออดีตและอธิบายปัจจุบันของหลักฐานในการตั้ง รกรากเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้เข้าชมผู้เชี่ยวชาญและรวบรวมข้อมูลทางการ ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในอดีต 

            ผลการศึกษาพบว่าแหล่งมรดกโลกอยุธยามีลักษณะโดดเด่นกว่าเมืองอื่นโดยการนำเสนอแหล่ง ท่องเที่ยวที่เต็มไปด้วยซากปรักหักพังซึ่งไม่มีผู้คนอาศัยและใช้งานโบราณสถานเหล่านั้นแต่นักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่างประเทศส่วนใหญ่บ่อยครั้งจะจ้องมองและถ่ายรูปมากกว่าที่จะเข้าใจความหมายของ แหล่งท่องเที่ยวดังนั้นในกรณีของอยุธยานั้นช่องทางที่สามารถสื่อสารและกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวเข้าใจและ ตระหนักในการสนใจข้อมูลมากขึ้นและตระหนักถึงความสำคัญของโบราณสถานและมรดกทางวัฒนธรรม เนื่องจากมีข้อมูลประวัติศาสตร์ความทรงจำมากมายเกี่ยวกับอยุธยาซึ่งเชื่อมต่อกับความหลากหลายของชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่เพราะอยุธยาเป็นเมืองค้าขายและเป็นเมืองนานาชาติ อย่างไรก็ตามยังมีการควบคุม การตั้งถิ่นฐานของชาวต่างชาติและมีความยินดีต้อนรับซึ่งอยุธยาเป็นจุดเริ่มต้นของความผสมผสานของชนชาติไทยที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์สืบทอดจนถึงสมัยธนบุรีต่อเนื่องมายังสมัยรัตนโกสินทร์             จากประวัติศาสตร์ไทยชี้ให้เห็นถึงการเปิดกว้างในการหลอมรวมผสมกลมกลืนของความเป็นชนชาติไทย  ในยุคปัจจุบันของประเทศไทยนั้นยิ่งเพิ่มความหลากหลายของชนชาติไทยมากขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากกระบวน การผสมผสานมาตั้งแต่ช่วงสมัยอยุธยาหมู่บ้านโปรตุเกสหมู่บ้านฮอลันดาและหมู่บ้านญี่ปุ่นจึงเป็นแหล่งท่อง เที่ยวที่น่าสนใจและควรประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวไปเที่ยวมากขึ้นเพื่อลดความแออัด และขีดจำกัดการรองรับของโบราณสถานในเกาะเมืองอยุธยา

Article Details

Section
บทความ : International
Author Biography

Pimon Kaewdang, Rajamangala University of Technology,Thanyaburi

Ph.D. Student, Architectural Heritage Mangement and Tourism, Silpakorn University