บทความ เรื่อง การวิเคราะห์การแปรรูปสะกด คำศัพท์ภาษามอญโบราณจากจารึกที่พบในประเทศไทย

Main Article Content

ฮันเตอร์ วัตสัน

Abstract

บทคัดย่อ

               ในประเทศไทยได้มีการพบจารึกภาษามอญโบราณจำนวนมากถึง 90 ชิ้น ซึ่งอยู่ในช่วงเวลามากกว่า 500 ปี   ในจารึกภาษามอญโบราณนี้ ได้พบว่าบางคำมีการแปรรูปสะกดคำ   จากการศึกษาการแปรรูปสะกดคำนี้ สามารถเห็นความแตกต่างกันระหว่างยุคสมัยและสถานที่  จารึกภาษามอญโบราณในประเทศไทยสามารถแบ่งออกเป็นสามกลุ่มตามรูปแบบอักษรที่ใช้  สามกลุ่มเหล่านี้สัมพันธ์กับทั้งสามยุคของประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นในภาคบริเวณต่างๆ ของประเทศไทยปัจจุบัน  และจากการศึกษาการแปรรูปสะกดคำ เห็นได้ว่าลักษณะการแปรรูปคำได้สัมพันธ์กับสามยุคนั้นอยู่เช่นกัน  ในบทความนี้ ผู้วิจัยจะนำเสนอการแปรรูปสะกดคำเฉพาะบางส่วนที่พบในการวิจัย พร้อมกับตัวอย่างจากจารึก

 

Abstract

               In Thailand, as many as 90 Old Mon language inscriptions have been found spanning more than 500 years.  In these inscriptions, many words appear with various word spellings.  By studying these spelling variations of words, differences can be seen between regions and historical periods.  Old Mon Inscriptions in Thailand can be broken into three groups based on the script styles.  These three groups also correlate to three historical periods which occur in different regions of modern-day Thailand, and from the study of word spelling variations the characteristics of variation can be seen to correspond to these three periods, as well.  In this article, the author will present some instances of word spelling variations found in the study, as well as examples from the inscriptions.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ