ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงลัพธ์และแรงเสียดทาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

ศนิตา สร้อยแสง

Abstract

บทคัดย่อ

            ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  เรื่องแรงลัพธ์และแรงเสียดทาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังเรียนเรียน (X=25.36, S.D.= 2.50)  สูงกว่าผลการเรียนรู้ก่อนเรียน (X=  22.08, S.D.= 2.44)   อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2) ความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังเรียนเท่ากับ (X=25.36, S.D.= 2.50)    และผลสัมฤทธิ์ของความคงทนในการเรียนรู้ เท่ากับ (X=  24.14, S.D.= 2.47)   พบว่ามีผลคะแนนการเรียนรู้ใกล้เคียงกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมากที่สุดคือมีค่าเฉลี่ย (X=4.57, S.D. = 0.68)

 

Abstract

            The result of using the electronic book application for science process skill subject of net force and friction for  Prathomsuksa 5  students. The results were as follows: 1) The learning achievement posttest after studying the electronic book  application for science process skills-Assisted instruction was posttest (X=25.36, S.D.= 2.50)  higher than pretest(X=  22.08, S.D.= 2.44)  indicated no differences at the .05 level of significant. 2) Retention in science subject of net Force and friction for fifth grade student taught was posttest equal (X=25.36, S.D.= 2.50)  and retention equal (X=  24.14, S.D.= 2.47 )  scores indicated nearby at the .05 level of significant. And  3) The testes’s satisfaction toward learning the electronic book  application for science process skills was very much has highest level at 4.57 (S.D.= 0.68)

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ