สภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของ โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

Main Article Content

อมรรัตน์ เหล็กกล้า
บัญชา สมบูรณ์สุข

Abstract

บทคัดย่อ

            การศึกษาวิจัยนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอน จำนวน 268 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บริหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสันไคสแควร์  ผลการศึกษาพบว่าความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาด้านวิธีการใช้สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ3.67 ด้านเทคนิควิธีการสอนพบว่าครูผู้สอนมีความต้องการและเห็นความจำเป็น ในการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเข้ามาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยสุงสุดเท่ากับ 3.74 จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารพบว่า มีความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเป็นอย่างสูง เพื่อพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ เพื่อนำมาใช้พัฒนารูปแบบและเทคนิคการสอน

 

Abstract

            Innovation  Development and opinions  and  suggestions  about  ways  to develop  educational  technology  and  innovation   in Private Vocational Schools  in  Hat Yai. The  subjects  were  268  a  questionnaire  and  interviews.Was used to collect the data which were then analyzed using  frequency,percentage,mean,S.D., and  Chi-square. The results   showed   that the   development   of  innovation educational   technologies   and   the  way  they   use  technology,  innovative   educational  media. Overall, the  high level with a  mean of 3.67  in   the  teaching   techniques   that  teachers  have  needs,and  activists, the need for technology and  innovation  in  education  to  use  in  the classroom  with  the    highest  meanWas  3.74   From  the   interviews  it was found that there  is a   need to develop innovative Technology  in  education is  very  high.Teachers  to develop the knowledge skills and  ability to develop  models  and   teaching methodology  and  techniques.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ