การออกแบบสื่อผสมเพื่อการเรียนรู้โรคเบาหวานในผู้ป่วยวัยชรา
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาสื่อความรู้สาหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน และเพื่อ
สร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายของ
งานวิจัยคือผู้สูงอายุ ได้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษา โดยกาหนดพื้นที่เป็น
กรณีศึกษาคือโรงพยาบาลสระบุรีในแผนกอายุรกรรม และต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นเบาหวาน
ชนิดที่ 2 โดยผู้ป่วยจะต้องมีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้กรุณาให้ความอนุเคราะห์เข้าร่วมงานวิจัยโดยความสมัคร
ใจ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภค สื่อผสมเพื่อการเรียนรู้
โรคเบาหวานในผู้ป่วยวัยชรา แบบประเมินสาหรับเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และแบบประเมินสาหรับ
เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ ดาเนินการวิจัยทดลองแบบกลุ่มเดียว (One-shot case study) ทดสอบสื่อกับ
กลุ่มผู้ป่วยโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มๆละ 10 คน ทดสอบวันละ 1 ครั้ง 4 วันๆละ 1-2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 8
วัน หลังจากนั้นวิเคราะห์เนื้อหา เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจหลังการใช้งานออกแบบ ( x )
นาเสนอโดยใช้แผนภาพแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงสถิติ และการบรรยายพรรณาสรุปผล
ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบสื่อผสมเพื่อการเรียนรู้โรคเบาหวานในผู้ป่วยวัยชรา ควรมี
รูปแบบการสอนลักษณะกลุ่มการเรียนรู้ โดยสื่อที่ใช้ควรมีขนาดใหญ่เพื่อให้เห็นภาพและตัวอักษรได้ชัดเจน
มีตัวอักษรที่อ่านง่าย มีกิจกรรมประกอบทักษะการเรียนรู้กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ และมีภาพประกอบเพื่อ
การอธิบายให้ผู้ป่วยได้มีความเข้าใจได้ง่าย มีค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการใช้สื่อการเรียนรู้อยู่ในระดับดี
มาก ค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจในการใช้งานและจัดเก็บอยู่ในระดับดี – ดีมาก มีความเหมาะสมและ
ความสวยงามจากผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอยู่ในระดับโดยรวมดี ซึ่งมีการสรุปผลให้เกิดแนวทางใน
การออกแบบสื่อผสมเพื่อการเรียนรู้สาหรับผู้ป่วยวัยชราในรูปแบบอื่นๆต่อไปในอนาคต
Abstract
The objectives of this research are, such as to develop educational mixed
media for diabetes elderly patients, and to enhance diabetes elderly patients’
motivation to learn and satisfy with the educational mixed media. The research target group was chosen from patients that have been treated in the case study at internal medicine division of Saraburi Hospital, who have been diagnosed by a physician as diagnosed as type 2 diabetes. The patients are any ages from 60 years-old. They also have pleased the assist accepted to get involved in the research project. Tools of the research are, such as consumer behavior questionnaire, educational mixed media about diabetes for elderly ,evaluation form for collecting data from the sampling and evaluation form for collecting data from experts. This project used a one-shot case study method by testing the mixed media to two groups of the patients. There were ten persons per group. The tests had been done on a total of eight days. There were four
tests for each group that took 1-2 hours per day and per group. Then, content analysis had been made by comparing the average scores of satisfaction after using the mixed media between the two groups ( x ). The research outcomes are represented in line and bar chart, which originated from statistical analysis, and summarized them in a descriptive and narrative conclusion. The results of the research were found that the diabetes educational mixed media for elderly should be organized into groups study. The media should be attractive and large size for older people to be able to see pictures and letters clearly. The alphabets should be easy to read. There must be learning activities for creating a motivation that contain colourful illustrations related to the content of diabetes in old age to be understood without difficulty. The average satisfaction of the media was in a very good level from all research groups. Diabetes experts gave a good to very good score for the average satisfaction of usage and storage. Designer experts gave a good mark for the average satisfaction of appropriateness and aesthetic. These results have been concluded and it was suggested that other types of educational media for older people should be created in the future.