Performance Indicators of Heads Department at La Salle Bangkok College in Leading Participatory Action Research

Main Article Content

Suphawatthananon Banchuen
Nopadol Chenaksara

Abstract

Abstract

            The purpose of this research was to study the performance indicators and to determine the guidelines of performance indicators of heads department at La Salle Bangkok College in leading the participatory action research. The samples consisted of lectures, heads department, deans, and advanced administrators at La Salle Bangkok College; 113, 10, 3, and 4, respectively by Purposive Sampling and the research instruments were in-depth interview, focus group discussion, observing tool and opinionnaire. The statistics in analyzing the data were frequency, percentage, arithmetic mean and standard deviation (S.D.) and the statistics in analyzing the factors are Exploratory Factor Analysis (EFA) by Principal Component Analysis (PCA) and 7 experts’ verification of research, and Content Analysis. 

            The research findings found that:

            1.  For Performance Indicators by Exploratory Factor Analysis (EFA) by Principal Component Analysis (PCA), it found that there were 8 components that 1) Component Number 1: 20 variables: the weight of component were at 0.808-0.527 and the researcher named this component, “PAR’s Knowledge”. 2) Component Number 2: 14 variables: the weight of component were at 0.511-0.854 and the researcher named this component, “PAR’s Training”. 3) Component Number 3: 18 variables: the weight of component were at 0.513-0.756 and the researcher named this component, “PAR’s Creation”. 4) Component Number 4: 11 variables: the weight of component were at 0.608-0.787 and the researcher named this component, “PAR’s Defining”. 5) Component Number 5: 7 variables: the weight of component were at 0.529-0.700 and the researcher named this component, “PAR’s Identifying”.6) Component Number 6: 4 variables: the weight of component were at 0.564-0.777 and the researcher named this component, “PAR’s Making”. 7) Component Number 7: 4 variables: the weight of component were at 0.640-0.714 and the researcher named this component, “PAR’s Playing the field”, and 8) Component Number 8: 3 variables: the weight of component were at 0.582-0.674 and the researcher named this component, “PAR’s Building”.

            2.  For guideline of performance indicators of heads department, a researcher found that there were 8 guidelines according to 7 expert’s verification of research on Participatory Action Research (PAR) as below:

                   1)       PAR’s Knowledge,2) PAR’s Training, 3) PAR’s Creation, 4) PAR’s Defining, 5) PAR’s Identifying, 6) PAR’s Making, 7) PAR’s Playing the field, and 8) PAR’s Building

บทคัดย่อ

               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้สมรรถนะวิสัย และทราบแนวทางของการได้มาซึ่งตัวบ่งชี้สมรรถนะวิสัย ของหัวหน้าภาควิชาวิทยาลัยลาซาล กรุงเทพมหานคร ในการนำเพื่อทำวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์, หัวหน้าภาควิชา, คณบดี และผู้บริหารระดับสูงของวิทยาลัยลาซาล กรุงเทพมหานคร จำนวน 113, 10, 3 และ 4 คนตามลำดับ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ใน  การวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบการสนทนากลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัจจัย คือ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ ด้วยวิธีการสกัดปัจจัย ประกอบกับการยืนยันรูปแบบงานวิจัยด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมจำนวน 7 คน และการวิเคราะห์เนื้อหา

            ผลการวิจัยพบว่า

            1.  สำหรับการวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ โดยวิธีการสกัดปัจจัย ได้องค์ประกอบจำนวน 8 องค์ประกอบ กล่าวคือ 1) องค์ประกอบที่ 1: 20 ตัวแปร: ค่าน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.808-0.527 โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า องค์ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม    2) องค์ประกอบที่ 2: 14 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัย         เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 3) องค์ประกอบที่ 3: 18 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า           การสรรค์สร้างเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 4) องค์ประกอบที่ 4: 11 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า การตีความเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 5) องค์ประกอบที่ 5: 7 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า การระบุชื่อเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 6) องค์ประกอบที่ 6: 4 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า การปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัย           เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 7) องค์ประกอบที่ 7: 4 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า               การเข้าถึงขอบข่ายเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม และ 8) องค์ประกอบที่ 8: 3 ตัวแปร โดยผู้วิจัยกำหนดชื่อองค์ประกอบนี้ว่า การสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม

            2.  สำหรับแนวทางของตัวบ่งชี้สมรรถนะวิสัยของหัวหน้าภาควิชาในการนำเพื่อทำวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วมร่วมนั้น จากการยืนยันของผู้เชี่ยวชาญด้านการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีสวนร่วมจำนวน 7 คนแล้วนั้น พบว่า มีแนวทางจำนวน 8 แนวทางด้วยกัน คือ

                   1)       องค์ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 2) การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 3) การสรรค์สร้างเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 4) การตีความเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 5) การระบุชื่อเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 6) การปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 7) การเข้าถึงขอบข่ายเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม และ 8) การสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม

Article Details

Section
บทความ : International