การกำหนดเพศโดยการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์เพื่อประเมินหาค่าความน่าเชื่อถือ ในการวัดกระดูกสะบ้าในประชากรไทย

Main Article Content

ศิริวรรณ จึงขจรเกียรติ

Abstract

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันการระบุเพศจากโครงกระดูกมนุษย์มีหลายวิธี โดยส่วนใหญ่กระดูกที่นำมาระบุเพศ มากที่สุดคือ กะโหลกศีรษะ(skull) และกระดูกเชิงกราน (pelvic bone) ในงานนิติวิทยาศาสตร์มีหลาย ปัจจัยที่มีผลต่อศพ เช่น การฆ่าหั่นศพ การเผาทำลายหลักฐาน ทำให้สภาพของโครงกระดูกอาจไม่ครบ สมบูรณ์

การทดลองนี้ใช้กระดูกสะบ้าเพื่อระบุเพศของมนุษย์ เนื่องจากกระดูกดังกล่าวจัดเป็นกระดูก sesamoid ที่ใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์

ในการวิจัยได้นำกระดูกสะบ้าจากศพที่สำนักงานนิติเวช โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน100 คู่ เป็นเพศชาย 65คู่ และเพศหญิง 35คู่ อายุระหว่าง 25-60 ปี มาทำการวัดหาระยะทั้ง 8 จุด แล้วนำข้อมูลมา วิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS จากการศึกษาพบว่ากระดูกสะบ้าสามารถใช้ในการแยกเพศได้ และมีความน่าเชื่อถือ

 

Abstract

Currently there are many ways to identify the sex of a human being using their bone structure. The most common bone structure used to identify the sex of a person is the skull and the pelvic bones. There are several factors affecting the forensic report such as slaughtering or burning of the body which destroys the original bone structure.

Patella is chosen in this study to identify human sexes because it is the biggest seasamoid bone in the human body.

A hundred pairs of cadaver’s patellae aging between 25-60 years old (male = 65, female = 35) were collected from the Forensic department of the police hospital and measured 8 points. According to discriminant analysis using the SPSS program, it has been proved that the Patella can effectively be used to identify the sex of a person.

Article Details

Section
บทความ