การสร้างรูปแบบบรรจุภัณฑ์จากเศษไม้ยางพารา เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ภาคใต้ กรณีศึกษาเรือกอและจำลองภาคใต้

Main Article Content

กุลนาถ ตันพาณิชรัตนกุล

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้จุดประสงค์เพื่อการศึกษาและสังเคราะห์องค์ความรู้จากศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความเป็นไปได้ในการผลิตโดยกลุ่มผู้ผลิตสินค้าจากไม้ การวิจัยมี 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 สังเคราะห์องค์ความรู้ความเป็นไปได้ในการสร้างบรรจุภัณฑ์จากเศษไม้ ยางพารา และสุ่มแบบเจาะจงเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์ตัวอย่างในงานวิจัย ระยะที่ 2 ออกแบบและสร้างต้นแบบ บรรจุภัณฑ์สำหรับกลุ่มผลิตภัณฑ์ตัวอย่างในงานวิจัยนี้ คือ ผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน จำนวน 3 ชิ้นงาน ระยะที่ 3 สำรวจการยอมรับและพึงพอใช้ “ต้นแบบบรรจุภัณฑ์จากเศษไม้ยางพารา” สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ผลการวิจัยพบว่าทิศทางของรูปแบบการสร้างบรรจุภัณฑ์จากเศษไม้ยางพาราสามารถเป็น แนวทางในการสร้างบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ภาคใต้ได้ โดยภาพรวมของผลงานออกแบบมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับดีมากทั้งหมด ซึ่งการออกแบบให้สื่อถึงเอกลักษณ์ภาคใต้ในบรรจุภัณฑ์สามารถทำได้จริงในกลุ่มผู้ผลิต สินค้าจากไม้ สามารถสร้างความน่าสนใจในสินค้าได้อย่างดี

ดังนั้นการผนวกความรู้ที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ที่มีคุณค่าร่วมกับทุกองค์ความรู้ทำให้เกิด แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำเสนอความงามของสินค้าภาคใต้ในรูปแบบบรรจุภัณฑ์เป็น การสร้างมูลค่าและรายได้ให้กับชุมชนในภาคใต้ได้อีกทางหนึ่ง

 

Abstract

The objective of this research is to study and extract the core knowledge from the art and culture of Southern Region, the packaging designs, the needs of target group, the possibility in producing packaging from rubberwood lumber, especially the group of wood manufacturers.

The research consists of 3 phrases; 1st phrase is extracting the core knowledge regarding to the possibility in creating packaging from rubberwood lumber, and purposive sampling group of sample product for the research; 2nd phrase is designing and creating the packaging for the group of target product in this research, which are 3 pieces of household decorative; 3rd phrase is to research the acceptance and satisfaction of “the pilot rubberwood lumber packaging”, using the questionnaires as a research tooling, statistics used in the research are frequency, percentage, means, and standard deviation; analyzing the data by using computer software.

The research findings support that the core knowledge regarding to possibility in creating the packaging from rubberwood lumber could be used as a guideline in creating the packaging for Southern Region. Overall the pilot designs have an average score at very good, which the designs are presenting the unique of Southern Region with packaging is implementable within the group of wood products manufacturer. The packaging makes the product more elegant.

In conclusion, by integrating the knowledge about the valuable art and culture of Southern Region with all of the core knowledge, help creates the guideline in designing the packaging which can present the elegance of the Southern Region Product. These packaging could be an alternative for adding more value and income for the Southern Region population.

Keywords : Packaging From Rubberwood Lumber, Packaging From Wood, Wood Packaging, promotional and community south

Article Details

Section
บทความ : ศิลปะและการออกแบบ