การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2). เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียนของผู้เรียน ที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างด้านเนื้อหาและการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2) แผนการจัดการเรียนการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่องความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 3)หนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 5) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ผลการวิจัยพบว่า
1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยได้คะแนนประสิทธิภาพ 80.54 /80.60
2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ต เรื่อง ความรู้สู่อาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับมาก
The purposes of this research were: 1) To develop Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students to achieve score based on 80/80 criteria. 2) To compare the before and after difference of the Pratomsuksa 2 student achievement after using the electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture 3) To study the student’s satisfaction toward the electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture
The instruments used in this research were: 1) The structured interview about the conten and design of Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students 2)Lesson plans for Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students 3) Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students 4) Pre-test and Post – Test on Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students 5) Pratomsuksa 2 student satisfaction survey on the Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students
The results of this research were as follow:
1. The efficiencies of the Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa II students was 80.54/80.60 which according to the 80/80 criteria.
2. The pros-test achievement scores after using the Electronic books on the tablet Knowledge to ASEAN Learning about Social Studies Religion and Culture for Prathomsuksa 2 students was significantly higher than the pretest at the level of .01
3. The students’ satisfaction were at the high level