สัญลักษณ์ทางเพศในผลงานจิตรกรรมของ จอร์เจีย โอคีฟ

Main Article Content

ศรัณยา พิชรานันท์

Abstract

          การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลงานจิตรกรรมอันมีกระบวนแบบที่เป็นศิลปะนามธรรมและกึ่งนามธรรมของจอร์เจีย โอคีฟ โดยเน้นผลงานชุดดอกไม้หรือผลงานที่ถูกวิจารณ์ในประเด็นเรื่องเพศ จำนวน 15 ชิ้น (ปีค.ศ. 1918 - 1930) เพื่อศึกษาการสร้างกระบวนแบบอันเป็นเอกลักษณ์ ที่มาของสัญลักษณ์ที่ถูกตีความในประเด็นทางเพศและการกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ รวมทั้งการศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลจากสภาพสังคมและสภาพแวดล้อม ที่มีผลในการแสดงออกประเด็นเรื่องเพศในผลงานของจอร์เจีย โอคีฟ ทั้งนี้เพื่อทำความเข้าใจผลงานและตัวตนของจอร์เจีย โอคีฟ ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงการเปิดมุมมองใหม่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ ทัศนคติของศิลปินในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ทัศนคติของนักวิจารณ์ เปิดมุมมองแก่ผู้ศึกษาศิลปะ และเพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจผลงานจิตรกรรมของจอร์เจีย โอคีฟ ต่อไป

 

            In the Pre-history and early historic periods of human development, there was belief that females were praised as supreme creator. This belief was connected to all the cultures around the world which seemed linked with information and artifacts. Moreover, the belief was linked with the vast female religion, so, it is difficult to separate female with nature. Flower is one of the natural subjects that has been represented and symbolized as female. It was metaphor by many professions, for example, botanical studies would literally compare genital anatomy of flower to genital anatomy of female. Moreover, there are also metaphor of flower in literature, decoration and art.

Article Details

Section
บทความ : ศิลปะและการออกแบบ