Developing Higher Order Thinking Skills Shadowing NSBC Framework
Main Article Content
Abstract
National Standard-Based Curriculum 2008 (NSBC) has its framework for regional and local education entities to use as a road map in preparing education to their students. The ultimate goal is to improve quality and equity of education to all compulsory age level students regardless of their origin, gender, religion and socio-economy status. Regional and local school districts assume the duty in providing quality education and equal opportunity to all children in their territory. The school plays a substantial role in conjunction with their local community members to develop curriculum that best serve their local needs. Teacher plays the most significant role in teaching the students to reach the NSBC goal. One way to reach the learning goal is to develop learners with higher thinking skills. To achieve such goal, the learning environment need to allow students to think out of the box and express ideas creatively without fear. In this article, the authors discuss their personal teaching experiences following the project-based learning (PBL) process to promote higher thinking skills. PBL is a student-directed, which permit them to research, experiment, and display outcomes themselves. Teachers are coaches to mentor and facilitate their learning by providing necessary guidelines. Experienced teachers in PBL setting lend opportunities for students to practice the skills until they feel comfortable to use them and be able to apply them in other contents as well as their daily life. PBL is a means that can be used to develop thought processes in order to enhance critical thinking skills, knowledge and teamwork among students as presented in this article.
หลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) มีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายจึงเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด มีความสำคัญอย่างยิ่งในการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้คุณภาพสูง การพัฒนาคนให้เป็นบุคคลที่มีความคิดจึงเป็นเป้าหมายที่สำคัญยิ่งของสังคมและประเทศชาติ การบูรณาการทักษะการคิดลงในเนื้อหาของหลักสูตร ต้องพิจารณาว่าเนื้อหาวิชาอย่างไรควรจะใช้ทักษะใดจึงเหมาะสม เพื่อผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะนั้นจนเกิดความชำนาญ สามารถถ่ายโยงไปใช้ในวิชาอื่นๆ และชีวิตประจำวันได้ การจัดการเรียนรู้ด้วยบทปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ที่สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่นและให้ปราชญ์ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทำให้การเรียนรู้ก็ไม่จำเป็นต้องอยู่ในห้องเรียน นักเรียนได้ออกแบบการทดลองและลงมือปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ ในท้องถิ่น เป็นกระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดจะส่งผลต่อการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะการปฏิบัติการ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนนำไปการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดการสร้างองค์ความรู้และส่งเสริมการทำงานเป็นทีมให้กับนักเรียน รวมทั้งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project -Based Learning) จึงเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติและเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดขั้นสูง