ระบาดวิทยาสังคมในงานวิจัยทางสาธารณสุข
Keywords:
ระบาดวิทยาสังคม, วิจัยทางสาธารณสุข, Social epidemiology, public health researchAbstract
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายทางสังคมและตัวกำหนดสุขภาพเชิงสังคมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ในระบาดวิทยาสังคม เน้นปรากฎการณ์ทางสังคม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคม ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ความเป็นธรรมทางสุขภาพและการมีสุขภาพที่ดี ขึ้นกับลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจสังคมและการเมือง ผ่านตัวกำหนดระหว่างกลางทั้งทางด้านสภาพแวดล้อม พฤติกรรม ชีววิทยา จิตสังคม หรือระบบการดูแลสุขภาพ โมเดล SOCEPID เป็นโมเดลทางระบาดวิทยาสังคม ที่ผสมผสานแนวคิดระบาดวิทยากับระบาดวิทยาสังคมในการวิจัยทางสาธารณสุข ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการค้นหาสาเหตุปัญหาสุขภาพ ดังนั้นการวิจัยทางสุขภาพในอนาคต ควรมองทั้งปัจจัยทางด้านประชากร สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรม
Social Epidemiology in Public Health Research
ABSTRACT
The purpose of the paper was to examine social distribution and social determinants that influence the health field. Social epidemiology focuses on social phenomena involving health and its association with socioeconomic factors that impact health and well-being. The impact in equity on health and well-being depends on the relationship of demographics, socioeconomics and political context that directly influences the intermediary determinants in the health field; factors such as material, behavioral, biological, psychosocial conditions, or the health care system. The SOCEPID approach, a social epidemiological model, is an essential tool in determining the correlation between epidemiology and social concepts in public health research. The element correlations are necessary to define the sources of health problems. This researcher recommends that further study should incorporate demographics, social, cultural, and behavioral factors related to all health aspects.
Downloads
Issue
Section
License
Creative Commons License CC-BY-ND