Differences in Reproductive Health and Contraceptive Knowledge between Pregnant and Non-pregnant Adolescents

Main Article Content

Nucharee Sangsawang
Bussara Sangsawang

Abstract

Purpose: This study aimed to compare reproductive health and contraceptive knowledge between pregnant and non-pregnant adolescents.

Design: Comparative study design.

Methods: This study was carried out at a tertiary hospital and a secondary school in Bangkok Metropolitan, Thailand. A convenience sample of 85 pregnant and 85 non-pregnant adolescents between 13-19 years were invited to participate. Data collection utilized the personal data questionnaire and the reproductive health knowledge questionnaire that contained questions regarding reproductive health and contraceptive methods. Data were analyzed using t-test to identify the differences of knowledge between pregnant and non-pregnant adolescents.

Main findings: The pregnant adolescents had significantly lower scores of reproductive health and contraceptive knowledge than the non-pregnant adolescents (M = 7.4, SD = 1.93 vs M = 12.6, SD = 1.22; t = 3.90, p < .05).

Conclusion and recommendations: This study found that the pregnant adolescents had misconception about conception, appropriate age for conception, and correct use contraceptive methods. The reproductive health knowledge about how to prevent pregnancy and correct use contraceptive methods that provide for female adolescents may have great impacts on reductions of adolescent pregnancy.

 

ความแตกต่างของความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และการคุมกำเนิดระหว่างวัยรุ่นตั้งครรภ์และวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และการคุมกำเนิด ระหว่างวัยรุ่นตั้งครรภ์ และวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์

รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลตติยภูมิ และวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ซึ่งเป็นนักเรียนหญิงในโรงเรียนมัธยมศึกษา อายุระหว่าง 13-19 ปี กลุ่มละ 85 คน รวมทั้งสิ้น 170 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์และการคุมกำเนิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ t-test

ผลการวิจัย: วัยรุ่นตั้งครรภ์มีคะแนนความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธ์ุ และการคุมกำเนิดต่ำกว่าวัยรุ่นที่ยังไม่ตั้งครรภ์ มีนัยสำคัญทางสถิติ (M = 7.4, SD = 1.928 vs M = 12.6, SD = 1.219, t = 3.900, p < .05) 

สรุปและข้อเสนอแนะ: การศึกษาพบว่าวัยรุ่นตั้งครรภ์ ยังมีความเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกกกกกกับการตั้งครรภ์ ช่วงอายุที่เหมาะสมต่อการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ และวิธีคุมกำเนิดที่ถูกต้อง ดังนั้น การให้ความรู้วิธีป้องกันการตั้งครรภ์ และการคุมกำเนิดที่ถูกต้องกับวัยรุ่นจะช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นได้


คำสำคัญ: วัยรุ่นตั้งครรภ์ การคุมกำเนิด การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความรู้อนามัยเจริญพันธุ์

Article Details

How to Cite
Sangsawang, N., & Sangsawang, B. (2016). Differences in Reproductive Health and Contraceptive Knowledge between Pregnant and Non-pregnant Adolescents. Nursing Science Journal of Thailand, 34(1), 7–16. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/55153
Section
Research Papers