ผลของการใช้โปรแกรมเมตาเวิร์สเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการป้องกันการตั้งครรภ์ และการรับรู้พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นตอนปลาย

ผู้แต่ง

  • ณัชพล บุญแต้ม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • จารุภา งามฉวี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ณัฏฐณิดา ฉ่ำพงษ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ทิพาภัสสร์ สายทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ธันยพร หมู่พยัคฆ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • นันทกา โสดา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • นิรัตศัย รักษ์สิงห์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • นิสา ช้างเปรม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • บุญสืบ โสโสม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • เกรียงไกร หร่ายอุดทา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ชุติมา บูรณธนิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มทดสอบหลังทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมเมตาเวิร์สเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการป้องกันการตั้งครรภ์ และการรับรู้พฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 อายุ 18 - 21 ปี 50 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 25 คน และ  กลุ่มทดลอง 25 คน เครื่องมือทดลอง คือโปรแกรมเมตาเวิร์สเป็นฐานการเรียนรู้ที่ใช้แนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ กับการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ค่า IOC เท่ากับ .66 - 1.0 เครื่องมือเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกัน
การตั้งครรภ์ และแบบวัดการรับรู้พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .83 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสองกลุ่มด้วยสถิติ independent t-test

ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของความรอบรู้ทางสุขภาพด้านความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพเพื่อป้องกัน     การตั้งครรภ์ของกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย 9.84 (SD 1.34) สูงมากกว่ากลุ่มทดลอง 5.72 (SD = 1.67) อย่างมีนัยยสำคัญทางสถิติ (P< .000) ส่วนค่าเฉลี่ยด้านอื่นๆไม่แตกต่าง ส่วนการรับรู้พฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ พบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย 67.36 (SD = 3.78) สูงมากกว่ากลุ่มควบคุม 62.40 (SD = 10.77) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .05) การใช้โปรแกรมเมตาเวิร์สเป็นฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น     ตอนปลายสามารถส่งเสริมการรับรู้พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ได้

References

สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย. รายงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น พ.ศ. 2560 Teenage

Pregnancy Surveilance Report 2017. [อินเทอร์เน็ต] 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก

: https://rh.anamai.moph. go.th/web-upload/ 7x027006c2abe84e89b5c85b44a692da94 /m_magazine/ 35435/ 2510/file_download/0ba106bad5de5c3259843656c29e33d6.pdf.

กระทรวงสาธารณสุข. อัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ15 -19 ปี. [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก:https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/ index.php.

นิตยา เพ็ญศิรินภา. ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับหลักสูตรเพศศึกษารอบด้าน. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน.[อินเตอร์เน็ต]. 2021; 7;(3):1-16 [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก : https:// he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/250888

ชลดา กิ่งมาลา, ทัศนีย์ รวิวรกุล, อาภาพร เผ่าวัฒนา. ผลของโปรแกรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหญิง. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล.[อินเตอร์เน็ต]. (2558);31(3):25-34. [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก:https://he01.tcithaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/56407

อุไรวรรณ ฐิติวัฒนากูล, ดวงกมล ปิ่นเฉลียว, ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล. ผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิต โดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการสาธารณสุข. [อินเตอร์เน็ต]. (2022) ;31(6):984-96 [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก: https://thaidj.org/index.php/JHS/issue/view/953/205

สุภาภรณ์ สมศรี.ประสิทธิผลของโปรแกรมป้องกันการตั้งครรภ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา [อินเตอร์เน็ต]. (2022). 7(2):1-13. [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก:https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ hej/article/view/259012

Thongnopakun S, Pumpaibool T, Visanuyothin S, Rodjarkpai Y, Manwong M. Effects of a safe sex program for increasing health literacy intention and practice to prevent pregnancy among undergraduates in Thailand. J Public Hlth Dev [Internet]. 19(1):141-5. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/245682

จุฑารัตน์ สนุกแสน, นภสร คงมีสุข และรัชนี ลักษิตานนท์.ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม

ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรของวัยรุ่นหญิงในเขตสุขภาพที่ 5 [อินเตอร์เน็ต]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ 2566 กันยายน 1]. เข้าถึงได้จาก:https://www.hpc.go.th/rcenter/_fulltext/ 20220826140534_ 3665/20220826140547_3681.Pdf

Petrigna L, Musumeci G. The Metaverse: A New Challenge for the Health care System: A Scoping Review. Journal of Functional Morphology and Kinesiology. [Internet]. 2022 . [Cited 2023 Sep.1];7(3):63. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/ 36135421/

Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Social Science & Medicine 2008; 7(12):2072-8. [Cited 2023 Sep.1]. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/ 18952344/ PMID: 18952344 doi: 10.1016/j.socscimed.2008.09.050

Kolb, D.A. Experiential learning: experience as the source of learning and development. (1984). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. [Cited 2023 Sep.1]. Available from:https://www.nicole-brown.co.uk/reflective-model-according-to-kolb/

กองสุขศึกษา และ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คู่มือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรสาหรับสตรีไทยวัยรุ่นอายุ 15 – 21 ปี. นนทบุรี: กองสุขศึกษา; 2559.

.Hanemann U, Robinson C. Rethinking literacy from a lifelong learning perspective in the context of the Sustainable Development Goals and the International Conference on Adult Education. International Review of Education. [Internet]. 2022.;68(2):233-58. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/ PMC9113376/

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร.ความฉลาดทางสุขภาพ. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพ์นิวธรรมดาการพิมพ์ จำกัด.กรุงเทพ. พิมพ์ครั้งแรก 2554 หน้า 17-19.

Said GR. Metaverse-Based Learning Opportunities and Challenges: A Phenomenological Metaverse Human–Computer Interaction Study. Electronics. 2023 Mar 14;12(6):1379.

Mediastuti F, Ismail D, Prabandari YS, Emilia O. Reducing the Risk of Teen Pregnancy among Middle School Pupils through Experiential Learning Intervention by MidwiferyStudents. Bangladesh Journal of Medical Science. [Internet]. 2023 Oct 1;22(4).797-803. Available from: https://eds.p.ebscohost.com/eds/detail/detail?vid=0&sid =bb595fd5- 6a18- 49e9-8bde-5ff039d31510%40redis&bdata=JnNpdGU9ZWRzLWxpdmUmc2NvcGU9c2l0ZQ%3d%3d#AN=173387016&db=asx

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31