อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำหลังได้รับยาสลบในผู้ป่วยผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2562-2565

ผู้แต่ง

  • ศิรภัสร์ ศิริไสยาสน์ โรงพยาบาลบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

คำสำคัญ:

ความดันโลหิตต่ำ, ดมยาสลบ, การผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ

บทคัดย่อ

ภาวะความดันโลหิตต่ำหลังรับยาสลบในการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับมีการศึกษาในวงจำกัด การศึกษานี้จึงต้องการศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะดังกล่าวในโรงพยาบาลบางบัวทอง ระหว่างปีงบประมาณ 2562 - 2565 พรรณนาลักษณะผู้ป่วย วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ของปัจจัยในการศึกษา ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่เกิดและไม่เกิดความดันโลหิตต่ำ โดย Chi square และ Fisher exact test (ข้อมูลแจงนับ) และ Student t-test, Rank Sum และ Kruskal-Wallis test (ข้อมูลต่อเนื่อง) หาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะดังกล่าวโดยวิเคราะห์แบบถดถอยโลจิสติก จากการศึกษาพบว่า อุบัติการณ์การเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำหลังรับยาสลบร้อยละ 21.10 เพศ การรักษา วิธีระงับความรู้สึก ค่าเฉลี่ยชีพจรก่อนการผ่าตัด อายุ และเวลาผ่าตัด แตกต่างระหว่างกลุ่มที่เกิดและไม่เกิดความดันโลหิตต่ำ (p-value < 0.05) อายุมาก เวลาผ่าตัดนาน เพศชาย ชีพจรก่อนการผ่าตัดน้อยกว่า 70 ครั้งต่อนาที และการระงับความรู้สึกแบบ deep sedation เป็นปัจจัยเสี่ยง เมื่อวิเคราะห์แบบหลายตัวแปร พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่ยังมีนัยสำคัญทางสถิติคือ เพศชาย และ ชีพจรก่อนการผ่าตัดน้อยกว่า 70 ครั้งต่อนาที โดยสรุปอุบัติการณ์ความดันโลหิตต่ำหลังรับยาสลบ ร้อยละ 21.10 ส่วนปัจจัยเสี่ยงคือ เพศชาย อายุมาก เวลาการผ่าตัดนาน ชีพจรก่อนการผ่าตัดช้ากว่า 70 ครั้งต่อนาที และการระงับความรู้สึกแบบ deep sedation ดังนั้นบุคลากรทางวิสัญญีควรเฝ้าระวังภาวะความดันโลหิตต่ำมากขึ้นในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยเพศชาย ผู้ป่วยที่มีชีพจรก่อนการผ่าตัดช้า (น้อยกว่า 70 ครั้งต่อนาที) ผู้ป่วยที่ต้องผ่าตัดเป็นเวลานาน รวมถึงผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึกแบบ deep sedation สำหรับผู้ป่วยที่มารับการรักษาด้วยการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ

References

Wesselink EM, Kappen TH, Torn HM, Slooter AJ, Van Klei WA. Intraoperative hypotension and the risk of postoperative adverse outcomes: a systematic review. Br. J. Anaesth. 2018;121(4):706-21.

Reich DL, Hossain S, Krol M, Baez B, Patel P, Bernstein A, Bodian CA. Predictors of hypotension after induction of general anesthesia. Anesthesia & Analgesia. 2005;101(3):622-8.

Bijker JB, Van Klei WA, Vergouwe Y, Eleveld DJ, Van Wolfswinkel L, Moons KG, et al. Intraoperative hypotension and 1-year mortality after noncardiac surgery. ASA. 2009;111(6):1217-26.

Loeb RG. A measure of intraoperative attention to monitor displays. Anesthesia & Analgesia. 1993;76(2):337-8.

สุนีย์ ศรีสว่าง, จตุพงษ์ พันธ์วิไล, ศักดิ์ระพี ชัยอินทรีอาจ. อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2557-2559. วารสารกรมการแพทย์. 2018;43(1):106-11.

Somboonviboon W, Kyokong O, Charuluxananan S, Narasethakamol A. Incidence and risk factors of hypotension and bradycardia after spinal anesthesia for cesarean section. J Med Assoc Thai. 2008;91(2):181-7.

Hartmann B, Junger A, Klasen J, Benson M, Jost A, Banzhaf A, et al. The incidence and risk factors for hypotension after spinal anesthesia induction: an analysis with automated data collection. Anesth Analg. 2002;94(6):1521-9.

Kang AR, Lee J, Jung W, Lee M, Park SY, Woo J, et al. Development of a prediction model for hypotension after induction of anesthesia using machine learning. PLoS One. 2020;15(4):e0231172.

ธัญเดช นิมมานวุฒิพงษ์, ทวี รัตนชูเอก, กิตติวัฒน์ มะโนจันทร์, วิบูลย์ ภัณฑบดีกรณ์. ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาระบบบริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery: ODS) และการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery: MIS) ปี 2565. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด; 2564.

Weir CB, Jan A. BMI Classification Percentile And Cut Off Points [Internet]. 2022 [cited 2023 Jan 01]. Available from: https://europepmc.org/article/nbk/nbk541070#_article-35288_s5_.

The American Heart Association. Bradycardia, Slow Heart Rate [Internet]. 2022 [cited 2023 Jan 01]. Available from: https://www.heart.org/en/health-topics/arrhythmia/about-arrhythmia/bradycardia--slow-heart-rate.

DeMers D, Wachs D. Mean arterial pressure [Internet]. 2021 [cited 2023 Jan 01]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK538226/.

American Society of Anesthesiologists. ASA Physical Status Classification System [Internet]. 2020 [cited 2023 Jan 01]. Available from: https://www.asahq.org/standards-and-guidelines/asa-physical-status-classification-system.

Südfeld S, Brechnitz S, Wagner JY, Reese PC, Pinnschmidt HO, Reuter DA, et al. Post-induction hypotension and early intraoperative hypotension associated with general anaesthesia. Br J Anaesth. 2017;119(1):57-64.

Jor O, Maca J, Koutna J, Gemrotova M, Vymazal T, Litschmannova M, et al. Hypotension after induction of general anesthesia: occurrence, risk factors, and therapy. A prospective multicentre observational study. J Anesth. 2018;32(5):673-80.

Kouz K, Hoppe P, Briesenick L, Saugel B. Intraoperative hypotension: Pathophysiology, clinical relevance, and therapeutic approaches. Indian J Anaesth. 2020;64(2):90-6.

Cheung CC, Martyn A, Campbell N, Frost S, Gilbert K, Michota F, et al. Predictors of intraoperative hypotension and bradycardia. Am J Med. 2015;128(5):532-8.

Bishop DG, Cairns C, Grobbelaar M, Rodseth RN. Obstetric spinal hypotension: Preoperative risk factors and the development of a preliminary risk score - the PRAM score. S Afr Med J. 2017;107(12):1127-31.

Hafeez Y, Grossman SA. Sinus bradycardia [Internet]. 2021 [cited 2023 May 27]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK493201/

Lee JE, George RB, Habib AS. Spinal-induced hypotension: Incidence, mechanisms, prophylaxis, and management: Summarizing 20 years of research. Best Pract Res Clin Anaesthesiol. 2017;31(1):57-68.

Chen B, Pang QY, An R, Liu HL. A systematic review of risk factors for postinduction hypotension in surgical patients undergoing general anesthesia. Eur Rev Med Pharmacol Sci. 2021;25(22):7044-50.

Liu X, Rabin PL, Yuan Y, Kumar A, Vasallo P, Wong J, et al. Effects of anesthetic and sedative agents on sympathetic nerve activity. Heart Rhythm. 2019;16(12):1875-82.

Sneyd JR, Absalom AR, Barends CRM, Jones JB. Hypotension during propofol sedation for colonoscopy: a retrospective exploratory analysis and meta-analysis. Br J Anaesth. 2022;128(4):610-22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31

How to Cite

ศิริไสยาสน์ ศ. . (2023). อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำหลังได้รับยาสลบในผู้ป่วยผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2562-2565. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา, 29(3), 107–120. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ODPC9/article/view/262265