Risk Factors Contributing to Overweight among Preschool Children

Authors

  • Wanalada Thongbai RN, PhD Candidate Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Warunee Fongkaew RN, PhD. Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Christine M. Kennedy RN, PhD, FAAN. Professor, Faculty of Nursing, University of California, San Francisco, CA, USA.
  • Patcharaporn Aree RN, DSc. Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Jayanton Patumanond MD, DSc. Associate Professor, Faculty of Medicine, Chiang Mai University, Thailand.

Keywords:

ปัจจัยเสี่ยง, ภาวะน้ำหนักเกิน, เด็กก่อนวัยเรียน, การศึกษาแบบย้อนหาสาเหตุ, Risk factors, Overweight, Preschool children, Case control study

Abstract

บทคัดย่อ

การศึกษาแบบย้อนหาสาเหตุครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะน้ำหนักเกิน ในเด็กก่อนวัยเรียน ทั้งปัจจัยด้านมนุษย์ ปัจจัยด้านสิ่งที่ทำให้เกิดโรค และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ตามกรอบ แนวคิดนิเวศวิทยาและระบาดวิทยา (Ecological-Epidemiological) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงเด็กก่อนวัยเรียน อายุ 36-60 เดือน เพื่อประเมินภาวะน้ำหนักเกิน โดยเทียบกับกราฟ แสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กไทยอายุ 2-7 ปี เด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินจำนวน 102 คน เป็นกลุ่มศึกษา และเด็กที่มีน้ำหนักปกติ 513 คนเป็นกลุ่มควบคุม ผู้ดูแลหลักของเด็กก่อนวัยเรียนเป็น ผู้ให้ข้อมูลในระดับบุคคล และครอบครัว ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะน้ำหนักเกินในเด็กก่อนวัยเรียน ประกอบด้วย การเป็นเด็กเพศชาย มี พฤติกรรมชอบ/เพลิดเพลินกับการกิน รวมทั้งการสนใจการกินอาหาร เด็กที่กินผลไม้กากใยสูงที่มี ความหวานต่ำสุด ดื่มนมเปรี้ยว ดูโทรทัศน์เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน ในวันธรรมดา และ/หรือมารดามีภาวะอ้วน หรือมารดามีพฤติกรรมการดูแลบุตรด้านอาหารแบบไม่ค่อยบังคับ อย่างไรก็ตามได้พบความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะน้ำหนักเกิน กับการดื่มนมสดรสหวาน/ นมรสชาติอื่นๆ/นมปั่น/โกโก้/โยเกริ์ตเป็นถ้วยใน ปริมาณที่ลดลง และการเล่นบอล ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเด็กน้ำหนักเกินปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม บางพฤติกรรม ผลการวิจัยทำให้พยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพ สามารถนำไปพัฒนาโครงการส่งเสริมสุขภาพ และเพิ่มความตระหนักต่อปัจจัยเสี่ยงภาวะน้ำหนักเกินในเด็กก่อนวัยเรียน รวมทั้งให้ความรู้แก่ครอบครัว เด็กก่อนวัยเรียน ด้านกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม

คำสำคัญ : ปัจจัยเสี่ยง, ภาวะน้ำหนักเกิน, เด็กก่อนวัยเรียน, การศึกษาแบบย้อนหาสาเหตุ

 

Abstract

The aims of this case control study were to investigate host, agent and environmental factors, based on an Ecological- Epidemiological conceptual framework, as determinants of overweight among preschool children. Data were collected by measuring height and weight of preschool children, 36-60 months old, to identify their nutritional status according to growth charts for 2 to 7 year old Thais. All primary caregivers of 102 overweight children (case), and 513 normal weight children (control), provided personal and family data. Multivariate analysis demonstrated predictive risk factors for children being overweight included: being male; scoring high in food responsiveness; enjoying food; eating food high in fruit fiber; drinking yogurt; watching television more than 2 hours every weekday; and/or, having a mother who was obese or used low pressure feeding techniques. In addition, two healthy behaviors (low intake of sweetened fresh milk/ cocoa/yogurt and playing ball) were found to be associated with overweight children; suggesting overweight children engage in some form of healthy behavior. The results may be used to guide the development of health promotion intervention programs, increase awareness of the risk of preschool children becoming overweight and educate families regarding healthier activities and dietary practices.

Keywords : Risk factors, Overweight, Preschool children, Case control study

Downloads

How to Cite

1.
Thongbai W, Fongkaew W, Kennedy CM, Aree P, Patumanond J. Risk Factors Contributing to Overweight among Preschool Children. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Nov. 24];15(1):13-27. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5776