Effectiveness of a School-based Cognitive Behavioral Therapy Program for Thai Adolescents with Depressive Symptoms

Authors

  • Sararud Vuthiarpa RN, PhD (Candidate) Faculty of Nursing, Chiang Mai University, 110 Intawaroros Road, Muang District, Chiang Mai, Thailand 50200
  • Hunsa Sethabouppha RN, PhD. Lecturer, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, 110 Intawaroros Road, Muang District, Chiang Mai, Thailand 50200
  • Pratum Soivong RN, PhD. Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, 110 Intawaroros Road, Muang District, Chiang Mai, Thailand 50200
  • Reg Williams RN, PhD, BC, FAAN. Professor, School of Nursing, and Professor, Department of Psychiatry, Medical School, University of Michigan, 400 North Ingalls, Ann Arbor, MI 48109-5482, USA.

Keywords:

ซึมเศร้า, การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน, วัยรุ่นไทย, Depression, School-based cognitive behavioral therapy, Thai adolescents

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานต่ออาการซึมเศร้าในวัยรุ่นไทย นักเรียนจำนวน 70 รายถุกสุ่มจากโรงเรียนมัธยมในเขตภาคกลาง2 โรงเรียน และจัดให้เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองนักเรียนจำนวน 35 รายถูกสุ่มเพื่อรับโปรแกรม จำนวน 12 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมนักเรียนจำนวน 35 รายถูกสุ่มเพื่อรับการดูแลตามปกติจากพยาบาลประจำโรงเรียน โดยไม่ได้รับโปรแกรมจำนวน 12 สัปดาห์การประเมินผลเชิงปริมาณกระทำโดยใช้แบบสอบถามจำนวน 3 ครั้ง คือ กึ่งกลางระหว่างโปรแกรมสิ้นสุดโปรแกรมทันที และ 4 สัปดาห์ภายหลังโปรแกรมสิ้นสุด การประเมินผลเชิงคุณภาพกระทำโดยการสนทนากลุ่มภายหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที เพื่อวิเคราะห์ผลของโปรแกรม ใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณในข้อมูลเชิงปริมาณ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการศึกษาพบว่าคะแนนอาการซึมเศร้าลดลงและคะแนนหน้าที่และการปรับตัวทางสังคมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติตลอดการประเมิน 3 ครั้ง ส่วนคะแนนความคิดอัตโนมัติทางลบพบว่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมและภายหลังโปรแกรมสิ้นสุด 4 สัปดาห์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพพบว่า กลุ่มทดลองได้รับประโยชน์จากโปรแกรมโดยทำให้อาการซึมเศร้า ความคิดอัตโนมัติทางลบ และหน้าที่และการปรับตัวทางสังคมดีขึ้น (เช่น สัมพันธภาพกับครอบครัวและเพื่อนดีขึ้นและมคี วามใส่ใจในการเรียนมากขึ้น ) ผลการศกึษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลโดยการใช้โปรแกรมเพื่อลดอาการซึมเศร้า ดังนั้น โปรแกรมนี้จะเป็นประโยชน์ในการป้องกันและลดภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นที่มีปัญหาอาการซึมเศร้าในโรงเรียนต่อไป

คำสำคัญ: ซึมเศร้า; การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน; วัยรุ่นไทย

 

Abstract

This quasi-experimental study sought to ascertain the effectiveness of aschool-based cognitive behavior therapy program on depressive symptoms among Thaiadolescents. Seventy, randomly selected, Thai students, from two public high schoolsin central Thailand, were randomly assigned to either an experimental or control group.The 35 students assigned to the experimental group received a 12 week, school-based,cognitive behavior therapy program that included one therapy session per week. The 35students assigned to the control group received usual care from the school nurses, but notthe 12 weekly therapy sessions.

Quantitative evaluation of the program was conducted, via self-report questionnaires,three times: half way through the program; immediately after program completion; and,four weeks after program completion. Qualitative program evaluation also was conducted,via a focus group, upon completion of the program. The effects of the program weredetermined via MANOVA (quantitative data) and content analysis (qualitative data).

Significantly reduced depressive symptoms and increased social and adaptivefunctioning were found across all three quantitative evaluation times. Significantly reducednegative automatic thought also was evident upon program completion and four weeksafter program completion. The qualitative data demonstrated that the participants benefitedfrom the intervention by their stated improvement of depressive symptoms, negativeautomatic thought, and social and adaptive functioning (i.e. relationships with familyand friends, and being more mindful of school work). The findings suggest the programmay be useful, especially in a school setting, in decreasing depressive symptoms amongThai adolescents.

Keywords: Depression; School-based cognitive behavioral therapy; Thai adolescents

Downloads

How to Cite

1.
Vuthiarpa S, Sethabouppha H, Soivong P, Williams R. Effectiveness of a School-based Cognitive Behavioral Therapy Program for Thai Adolescents with Depressive Symptoms. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Nov. 18];16(3):206-21. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5877