Predicting Adolescent Healthy Eating Behavior Using Attitude, Subjective Norm, Intention, and Self-schema

Authors

  • Parnnarat Sangperm PhD. Candidate Faculty of Nursing, Mahidol University, Thailand
  • Rutja Phuphaibul Professor Department of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Thailand
  • Fongcum Tilokskulchai Associate Professor, Faculty of Nursing, Mahidol University, Thailand
  • Thavatchai Vorapongsathon Associate Professor, Faculty of Public Health, Mahidol University, Thailand
  • Karen F. Stein Professor University of Michigan School of Nursing, U.S.A

Keywords:

วัยรุ่น, การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี, ทฤษฎีแบบแผนสุขภาพอัตมโนทัศนเชิงโครงสร้าง

Abstract

บทคัดย่อ

พฤติกรรมการรับประทานอาหารของวัยรุ่นมีความเกี่ยวพันกับภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพที่ดีของวัยรุ่นตอนต้นในประเทศไทย โดยทัศนคติ ความคาดหวังของสังคม ความตั้งใจ และอัตมโนทัศนเชิงโครงสร้าง

กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 จำนวน 191 คน จากโรงเรียน มัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ตัวแปรทัศนคติ ความคาดหวังของสังคม ความตั้งใจ และ อัตมโนทัศนเชิงโครงสร้าง ประเมินโดยใช้แบบสอบถาม พฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อ สุขภาพที่ดี ประเมินโดยใช้วิธีการเขียนบันทึกอาหารเป็นเวลา 3 วัน สารอาหารที่วิเคราะห์ได้จาก บันทึกอาหารของกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนจะถูกนำมาเปรียบเทียบกับค่าแนะนำปริมาณสารอาหารที่ ควรไต้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2546 และธงโภชนาการ เพื่อนำมาคำนวณค่าดัชนีการรับ ประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี

ผลการศึกษาพบว่า ความคาดหวังของสังคมเป็นตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายความตั้งใจ ได้ในกลุ่มวัยรุ่นโดยรวม (ท < .05) ทัศนคติสามารถทำนายความตั้งใจไต้ในกลุ่มวัยรุ่นหญิง ในขณะที่ อัตมโนทัศนเชิงโครงสร้างสามารถทำนายพฤติกรรมได้ในกลุ่มวัยรุ่นชาย

สรุปได้ว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของวัยรุ่นตอนต้นเพศหญิง และเพศชายได้รับอิทธิพลจากปัจจัยที่แตกต่างกันดังนั้นในการส่งเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีในวัยรุ่นหญิงหรือชาย จึงควรใช้วิธีการที่แตกต่างกัน

คำสำคัญ: วัยรุ่น การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ทฤษฎีแบบแผนสุขภาพอัตมโนทัศนเชิงโครงสร้าง

 

Abstract

Eating behavior established in adolescence has been linked to the risks of many chronic illnesses in adulthood. The present study aims to predict healthy eating behavior in Thai early adolescents using attitude, subjective norm, intention, and self-schema. The participants were 191 early adolescents studying in grade 1-9 in public schools in Bangkok Metropolitan.

The questionnaires consist of the Attitude towards Healthy Eating Scale, the Subjective Norm for Healthy Eating Scale, the Intention to Eat Healthily Scale, and the Healthy Eater Self-Schema Scale. The Healthy Eating Index, using the Nutrition Flag and Dietary Reference Intake for Thai (DRI) 2003 as references, was used to determine healthy eating behavior of all participants through a 3-days food diary. All participants were also trained for food recording to ensure the accuracy of their intake data.

Results from hierarchical multiple regression revealed that subjective norm was the only significant predictor of healthy eating intention in all participants (p < .05). Only in the girls group that attitude could predict healthy eating intention. However, self-schema could predict healthy eating behavior in the boys group (p < .05).

These findings suggest that factors predicting healthy eating behavior among early adolescent girls and adolescent boys are different. Thus, different strategies based on specific cognitive factors should be employed when promoting healthy eating behavior in early adolescents.

Keywords: adolescent, healthy eating , Theory of planned behavior, self-schema

Downloads

How to Cite

1.
Sangperm P, Phuphaibul R, Tilokskulchai F, Vorapongsathon T, Stein KF. Predicting Adolescent Healthy Eating Behavior Using Attitude, Subjective Norm, Intention, and Self-schema. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Dec. 19];12(2):95-106. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5881

Issue

Section

Original paper