Predictors of Eating Behaviors for Weight Control Among Overweight Early Adolescents

Authors

  • Temduang Choyhirun Ph.D. Candidate, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Prakin Suchaxaya Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Ratanawadee Chontawan Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Seepan Kantawang Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand

Keywords:

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัว, ภาวะน้ำหนักเกิน, เด็กวัยรุ่นตอนตัน, ทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรม

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวในเด็กวัยรุ่นตอนต้นที่มีภาวะน้ำหนักเกิน จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 151 คน โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรมของเอจเซน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัว และแบบวัดพฤติกรรมการวางแผนเกี่ยวกับการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น

รูปแบบที่สร้างขึ้นไต้รับการทดสอบและปรับด้วยการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงเหตุ และผลการศึกษาพบว่า แบบจำลองรูปแบบสุดท้ายมีความสอดคล้องกับข้อมูลเป็นอย่างดี และสามารถทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำาหนักตัวไต้ร้อยละ 47.80 พฤติกรรมการบริโภคอาหารในอดีตเป็นตัวทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวที่ดีที่สุด โดยพฤติกรรมการบริโภคอาหารในอดีตและการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมมีผลโดยตรงทางบวกต่อพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำาหนักตัว (3 = 0.59, P < .001; 3 = 0.15, P < .01 ตามลำดับ) โดยความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมมีผลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อควบคุม น้ำาหนักตัวผ่านทางการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม (3 = 0.10, p < .01) นอกจากนี้ เจตคติ บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม มีผลโดยตรงทางบวกต่อความตั้งใจในการมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ำาหนักตัว ปัจจัยเหล่านี้ร่วมกัน ทำนายความตั้งใจได้ร้อยละ 41.8 โดยการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม เป็นปัจจัยที่มีอำนาจในการทำนายสูงสุดตามมาด้วยเจตคติ และบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงเป็นปัจจัยที่มีอำนาจในการทำนายน้อยที่สุด (6 = 0.46, P < .001; 3 = 0.32, P < .001, P = 0.22, P < .01 ตามลำดับ)

ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรม และช่วยให้พยาบาลและบุคลากรสุขภาพเข้าใจปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวในเด็กวัยรุ่นตอนด้นที่มีภาวะน้ำหนักเกิน นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมในการส่งเสริม พฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวในเด็กวัยรุ่นตอนต้นที่มีภาวะน้ำาหนักเกินต่อไป

คำสำคัญ: ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักตัว ภาวะน้ำหนักเกิน เด็กวัยรุ่นตอนตัน ทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรม

 

Abstract

This study aimed to identify predictors of eating behaviors for weight control among 151 overweight early adolescents in the Bangkok Metropolitan based on the Theory of Planned Behavior. Two self-administered questionnaires were used for data collection, including the Eating Behaviors for Weight Control Questionnaire and the Planned Behavior Scales of Eating Behaviors for Weight Control developed by the researcher.

The proposed model was tested and modified by path analyses. The final model adequately fit the data and could explain 47.80% of variance in eating behaviors for weight control. The results revealed that past eating behaviors was the best predictor of eating behaviors for weight control. Past eating behaviors and perceived behavioral control had a positive direct effect on eating behaviors for weight control (เ3 = 0.59, p < .001;

เ3 = 0.15, p < .01, respectively). Control beliefs had an indirect effect on eating behaviors for weight control through perceived behavioral control (เ3 = 0.10, p < .01). เท addition, attitudes, subjective norms, and perceived behavioral control explained up to 41.8% of variance in intentions. The intentions were influenced most by perceived behavioral control and then by attitudes and subjective norms ([) = 0.46, p < .001; [) = 0.32, p < .001, [) = 0.22, p < .01 respectively)

Thus, the findings support the Theory of Planned Behavior and provide nurses and health care providers with information to understand predictors of eating behaviors for weight control among overweight early adolescents. Furthermore, the findings provide a knowledge base for developing interventions to promote early adolescents’ healthy eating behaviors, addressing the elements identified in this study as important factors.

Keywords: Predictors, eating behaviors for weight control, overweight, early adolescents, Theory of Planned Behavior

Downloads

How to Cite

1.
Choyhirun T, Suchaxaya P, Chontawan R, Kantawang S. Predictors of Eating Behaviors for Weight Control Among Overweight Early Adolescents. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Dec. 19];12(2):107-20. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5882

Issue

Section

Original paper