Support from Thai Male Partners When an Unwanted Pregnancy is Terminated

Authors

  • Warangkana Chatchawet RN, PhD Candidate, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Kasara Sripichyakan RN, PhD. Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Kannika Kantaruksa RN, PhD. Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand.
  • Kittikorn Nilmanat RN, PhD. Assistant Professor, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University, Thailand.
  • Beverley A. O’Brien RN, PhD. Professor, Faculty of Nursing, University of Alberta, Canada.

Keywords:

การเกื้อกูลของคนรัก, การทำแท้ง, การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์, การเล่าเรื่องโดยใช้แนวคิดสตรีนิยม, Partner support, Abortion, Unwanted pregnancy, Feminist narrative, Thailand

Abstract

บทคัดย่อ

ผู้ชายไทยที่ร่วมมีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงจนเกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ มักจะไม่ถูกคาดหวังให้รับผิดชอบในการเกื้อกูลหรือดูแลผู้หญิง ผู้เข้าร่วมวิจัย 23 คน (ผู้หญิง 6 คน และผู้ชาย 6 คน ซี่งเป็นคู่รักกัน รวมทั้งผู้หญิง 6 คน และผู้ชาย 5 คน ที่คนรักไม่ได้เข้าร่วมในการวิจัย) ที่มีประสบการณ์ของภาวะแทรกซ้อนจากการยุติการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ได้รับการสัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะการดูแลที่ผู้ชายสามารถดูแลผู้หญิงได้ การศึกษาครั้งนี้ศึกษาใน 2 จังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกเป็นรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์แก่นสาระ

เมื่อเลือกที่จะยุติการตั้งครรภ์ ผู้ชายมีลักษณะที่แตกต่างกันในการเกื้อกูลคนรักของตัวเอง ดังนี้ ช่วยเหลือในการยุติการตั้งครรภ์ อยู่ใกล้ชิดในขณะยุติการตั้งครรภ์ ดูแลด้วยความรักและความจริงใจ ไถ่บาปร่วมกันดูแลความต้องการพื้นฐาน หรือ สนับสนุนด้านการเงิน เมื่อผู้หญิงและผู้ชายร่วมรับผิดชอบต่อการยุติการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ พบว่า สายสัมพันธ์ระหว่างผู้หญิงผู้ชายดีขึ้น ผู้หญิงรู้สึกแข็งแกร่งขึ้น สามารถที่จะทำในสิ่งที่ถูกต้องได้มากขึ้น และรู้สึกถึงการถูกปลดปล่อย อย่างไรก็ตามผู้หญิงส่วนหนึ่งรู้สึกถึงการมีตราบาปร่วมด้วย สรุปได้ว่าการสนับสนุนให้ผู้ชายดูแลผู้หญิงเมื่ออยู่ในกระบวนการของการยุติการตั้งครรภ์ เป็นการส่งเสริมการดูแลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ และมีการเปลี่ยนแปลงจากการใช้กรอบแนวคิดผู้หญิงเท่านั้นเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเสมอภาคทางเพศระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย

คำสำคัญ: การเกื้อกูลของคนรัก; การทำแท้ง; การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์; การเล่าเรื่องโดยใช้แนวคิดสตรีนิยม

 

Abstract

Thai men who participate in a sexual encounter leading to an unwantedpregnancy typically are not expected to accept responsibility for providing support andcare to women who choose pregnancy termination. Twenty-three individuals (6 womenand 6 men who were partners, plus six women and five men who did not have a partner)who, either directly or indirectly, experienced an unwanted pregnancy termination,were asked about the type and amount of care men could provide. The study wasconducted in two provinces in Southern Thailand. Data were collected using indepthindividual interviews, while thematic analysis was used to generate insights.

When pregnancy termination was chosen, men demonstrated different types ofsupport for their partner by: assisting with the actual termination procedure; beingnearby while the termination was occurring; caring with mutual love and sincerity;expiating for a shared sin; showing and giving basic physical care; or, providing financialsupport. When men and women both accepted responsibility for terminating an unwantedpregnancy stronger bonding between them was reported. Further, women felt stronger,more able to do the right thing and more liberated from a submissive role. However,some women also felt stigmatized by others who were aware of the termination. Findingssuggest that encouraging men to be supportive to women during the process of pregnancytermination enhances reproductive health care and transforms the experience from awomen-only framework to one where gender equity among women and men is encouraged.

Key words: Partner support; Abortion; Unwanted pregnancy; Feminist narrative; Thailand

Downloads

How to Cite

1.
Chatchawet W, Sripichyakan K, Kantaruksa K, Nilmanat K, O’Brien BA. Support from Thai Male Partners When an Unwanted Pregnancy is Terminated. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Dec. 19];14(3):249-61. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6291