Family Relationships, Roles and the Meaning of Active Aging among Rural Northeastern Thai Elders

Authors

  • Walaiporn Nantsupawat RN, MSN, PhD (Candidate) Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
  • Peerasit Kamnuansilapa PhD, Associate Professor, College of Local Administration, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
  • Wanapa Sritanyarat RN, PhD, Associate Professor, Faculty of Nursing, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
  • Supawatanakorn Wongthanawasu PhD, Associate Professor, Faculty of Nursing, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.

Keywords:

การวิจัยแบบผสมผสาน, การปฏิบัติและการพัฒนาบทบาท, ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงประเทศไทย, Active aging, Rural Thai elders, Family relationships, Ways of life, Roles

Abstract

บทคัดย่อ

ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงเป็นเรื่องใหม่ของการได้รับรองวุฒิบัตรสำหรับพยาบาลในประเทศไทยโดยสภาการพยาบาลเมื่อ พ.ศ. 2546 ตั้งแต่มีบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในประเทศไทยยังไม่พบการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาการพัฒนาบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน 2 ระยะ ระยะแรกใช้วิธีการศึกษาเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเพื่อสำรวจผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงที่ได้รับวุฒิบัตรจากสภาการพยาบาล ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 – 2548 จำนวน154 คน ระยะที่สองใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 13 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และการทบทวนเอกสารวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

ผลการศึกษาระยะแรกพบว่า การปฏิบัติบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีมาก คือ บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาล ผู้ให้ความรู้ ผู้ให้คำปรึกษา ผู้จัดการ และผู้วิจัย ในขณะที่การปฏิบัติบทบาทด้านจริยธรรมและกฎหมายมีปานกลาง ผลการศึกษาระยะที่สองพบว่า กระบวนการพัฒนาบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงประกอบด้วย 3 ขั้น ได้แก่ ผู้เริ่มต้น ผู้มีความสามารถ และผู้เชี่ยวชาญ ปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญของการพัฒนาบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง คือ ก) ปัจจัยด้านองค์กร (ระบบบริการสุขภาพและนโยบายองค์กร) ข) ปัจจัยด้านบุคคล (คุณลักษณะของผู้บริหารการพยาบาล และการปฏิบัติงานที่ดีของทีมสหสาขาวิชาชีพ) และ ค) ปัจจัยแหล่งสนับสนุน (การได้รับทุน) ปัจจัยอุปสรรคที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง คือ ก) ปัจจัยด้านองค์กรเกี่ยวกับการบริหารงานที่ไม่ดี(ขาดคำอธิบายโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน และนโยบายขององค์กรไม่ชัดเจน) ข) ปัจจัยด้านบุคคลเกี่ยวกับการสนับสนุนจากผู้บริหารด้านการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงน้อย (การมอบหมายงานที่ไม่สะท้อนการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง และพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมมือของสมาชิกในทีมสหสาขาวิชาชีพ และ ค) ปัจจัยแหล่งสนับสนุนเกี่ยวกับการขาดอัตรากำลังพยาบาล (การมอบหมายงานที่ไม่ใช่การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง)

คำสำคัญ: การวิจัยแบบผสมผสาน; การปฏิบัติและการพัฒนาบทบาท; ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงประเทศไทย

 

Abstract

This ethnographic study sought to explore family relationships, roles andthe meaning of active aging among rural Northeastern Thai elders. Study participantsconsisted of 58 elderly informants and 45 family members from 44 different familystructures. Data were collected through participant observation and in-depthinterviews, and analyzed via latent content analysis. Results revealed four typesof family relationships (one-generation, two-generation, three-generation and fourgenerationliving patterns) and two major roles (earning a living and instructingchildren/grandchildren). Active aging meant elders made contributions and achievedhappiness by doing things beneficial for themselves, family and society. Within activeaging, eight ways of life were noted (working; looking after grandchildren/greatgrandchildren; getting loans; participating in social life; visits from descendants;children’s gratitude; health; and, pre-death preparations). Positive circumstancesresulting from elders’ active aging included: having economic stability; good health;and, having children who were grateful to them in times of independence, as well asdependence. One and two-generation family patterns were found not to promoteactive aging, resulting in elders not feeling secure that someone would care for themin the future. However, three and four-generation family patterns were found topromote active aging, resulting in elders feeling secure that someone would care forthem now and in the future.

Keywords: Active aging; Rural Thai elders; Family relationships; Ways of life; Roles

Downloads

How to Cite

1.
Nantsupawat W, Kamnuansilapa P, Sritanyarat W, Wongthanawasu S. Family Relationships, Roles and the Meaning of Active Aging among Rural Northeastern Thai Elders. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 6 [cited 2024 Apr. 26];14(2):137-48. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6299

Issue

Section

Original paper