Relationships among Health Promoting Behaviors and Maternal and Infant Birth Outcomes in Older Pregnant Thais

Authors

  • Supawadee Thaewpia
  • Lois Chandler Howland
  • Mary Jo Clark
  • Kathy Shadle James

Keywords:

Advanced maternal age, Health promotion, High risk pregnancy, Maternal

Abstract

Abstract: Given that approximately 36% of all Thai births are by women 35 years of age and older, advanced maternal aged women experience poor perinatal outcomes, and limited data exists regarding factors associated with negative maternal and infant outcomes among older pregnant Thais, this prospective correlational research sought to describe the relationships among health promoting behaviors, and maternal and infant outcomes in older pregnant Thais. The sample consisted of 142 pregnant Thais who were 35 years of age or older and receiving antenatal care in one of four public hospitals in northeastern Thailand. Data were collected via a Personal Characteristics Questionnaire, the Health Promotion Lifestyle Profile II Scale, and each subject’s medical record.

The results revealed that gestational diabetes mellitus, premature labor, breech presentation, pregnancy-induced hypertension, premature rupture of membrane, and antepartum hemorrhage were the most frequently reported maternal outcomes. The infants’ complications included fetal distress, preterm delivery, and low birth weight. Although the subjects reported a high level of health promoting behavior, a significant negative correlation was found between their health promoting behavior scores and antepartum hemorrhage. On the other hand, no significant relationships were found among the mothers’ health promoting behaviors and the infants’ outcomes. Thus, interventions that enhance health promoting behaviors may help to prevent some of the poor maternal outcomes that can occur in this at-risk population.

บทคัดย่อ: จำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไปในประเทศไทยมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ประมาณร้อยละ 36 ของหญิงตั้งครรภ์เป็นมารดาที่มีอายุมาก ซึ่งหญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้เผชิญกับภาวะ แทรกซ้อนทั้งในมารดาและทารก การศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและ ทารกในหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไปยังมีจำกัด ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของมารดา และทารกในหญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี

กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกโดยการเจาะจงคุณสมบัติตามที่ระบุไว้จำนวน 142 ราย เป็นหญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปีขึ้นไปที่มารับการฝากครรภ์ โรงพยาบาลรัฐบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 4 แห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ส่วนข้อมูล ภาวะสุขภาพของมารดาและทารกรวบรวมจากแบบบันทึกทางการแพทย์และการพยาบาลของกลุ่ม ตัวอย่างแต่ละราย

ผลการศึกษาพบว่าภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์อายุมากที่พบบ่อยได้แก่ เบาหวานจาก การตั้งครรภ์ การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด การตั้งครรภ์ทารกท่าก้น ภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากการตั้งครรภ์ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด และภาวะตกเลือดก่อนคลอด ส่วนภาวะ แทรกซ้อนของทารกได้แก่ ภาวะพร่องออกซิเจน ทารกคลอดก่อนกำหนด และน้ำหนักตัวแรกคลอด น้อย กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับสูง และยังพบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพมี ความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะตกเลือดก่อนคลอดอีกด้วย ดังนั้น พยาบาลควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ดีต่อไป เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและดำรงไว้ซึ่งภาวะ สุขภาพที่ดีของมารดาในหญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้

Downloads

How to Cite

1.
Thaewpia S, Howland LC, Clark MJ, James KS. Relationships among Health Promoting Behaviors and Maternal and Infant Birth Outcomes in Older Pregnant Thais. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 26 [cited 2024 Apr. 25];17(1):28-3. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6359

Issue

Section

Original paper