Menopausal Transition with a Yogic Lifestyle: Experiences of Thai Yogi Masters
Keywords:
menopausal transition, yogi masters, yogic lifestyleAbstract
Abstract : This ethnographic study, as part of the larger research project, “Living Healthy through Yoga of Yoga Masters: A Qualitative Inquiry,” sought to explore the experiences of nine female yogi masters as they managed their menopausal transition (i.e., women’s reproductive senescence in the continuum of reproductive aging) via a yogic lifestyle. Their yogic lifestyle included regular yoga practice, healthy food habits, adequate sleep, and the use of nature cure techniques (i.e., fasting, detoxification, selection of suitable food products, and living in well-ventilated houses) that facilitated the art of living in tune with nature. Personal interviews, supplemented with telephonic interviews, participant observations, administration of a questionniare, and field notes were carried out to explore the yogi masters’ experiences. Using Spradley’s method of analysis, qualitative data were gathered and analyzed simultaneously.
The findings revealed the yogi masters perceived having: mild menopausal symptoms; positive attitudes towards their menopausal experiences; and, a smooth menopausal transition.
Their yogic lifestyle helped the middle-aged Thais deal with their menopausal transition and provided them with a positive step towards healthier aging. Thus, it appears that health professionals need to encourage positive attitudes, among women, towards menopause and mind-body awareness, through use of yoga.
บทคัดย่อ: การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ครูโยคะไทยใน การเปลี่ยนผ่านภาวะการหมดประจำเดือนด้วยวิถีโยคะ การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็นครูโยคะจำนวน 9 คน ที่อยู่ในวัยภาวะหมดประจำเดือนและกำลังจะหมดประจำเดือน เก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกร่วมกับการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการจด บันทึกภาคสนาม เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติโยคะในวิถีชีวิต ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านภาวะ หมดประจำเดือน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาโดยใช้รูปแบบตามแนวคิดของสปราดเล่
ผลการศึกษาพบว่า ครูโยคะรับรู้ภาวะการหมดประจำเดือนในระดับความรุนแรงที่ตํ่าและมี ทัศนะคติที่ดีกับภาวะหมดประจำเดือน ซึ่งสามารถก้าวผ่านพ้นไปได้อย่างราบรื่นไม่เกิดความทุกข์ ทรมาณจากอาการภาวะหมดประจำเดือน โดยการปฏิบัติตามแนววิถีโยคะ คือการปฏิบัติโยคะอย่าง สม่ำเสมอร่วมกับการรับประทานอาหารสุขภาพ นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ และใช้วิถีโยคะผสมผสาน กับธรรมชาติบำบัด
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าวิถีโยคะช่วยให้ผู้หญิงวัยกลางคนเปลี่ยนผ่านภาวะหมด ประจำเดือนไปได้ด้วยความราบรื่นไม่เกิดความทุกข์ทรมาณ ซึ่งจะส่งผลไปสู่การมีชีวิตในวัยสูงอายุที่มี สุขภาวะต่อไป บุคลากรทางด้านสุขภาพควรตระหนักและกระตุ้นให้ผู้หญิงมีทัศนคติที่ดีต่อการหมด ประจำเดือนซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติของชีวิตและนำโยคะมาปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเกิดการตระหนักรู้ ในการดำรงชีวิตตั้งแต่เนิ่นๆ
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright: The Pacific Rim International Journal of Nursing Research, Thailand Nursing & Midwifery Council has exclusive rights to publish, reproduce and distribute the manuscript and all contents therein.