An Intervention Study of ChangingEating Behaviors and Reducing Weight in Thai ChildrenAged 10-12

Authors

  • Mayurachat Kanyamee RN, PhD Candidate, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Warunee Fongkaew RN, PhD, Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Jutamas Chotibang RN, PhD, Assistant Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Patcharaporn Aree RN, DSc, Associate Professor, Faculty of Nursing, Chiang Mai University, Thailand
  • Christine Kennedy RN, PNP, PhD, FAAN, Professor, School of Nursing, University of California San Francisco, USA

Keywords:

Intervention study, Weight reduction, Eating behaviors, Weight control, Overweight, Children

Abstract

Childhood obesity or being overweight is a growing international issue. This experimental pretest-posttest control group study examined the effects of an individually-based intervention to improve healthy eating specially for weight controland nutritional status among Thai 10–12-year-olds who were overweight.  We report a study,based on the Theory of Planned Behavior, that examined the impact of an intervention on: theintention of children to perform eating behaviors for weight control, their eating behaviorsgenerally, andtheir overall nutritional status.

Students from two Thai schools were randomized into either an experimental or control group.  Participants of each school,who met the inclusion criteria, were drawn independently into the experimental group (68 children)whoreceived an intervention,while the control group (68 children)received the school’s usual healthy-eating educational program.  The Demographic Characteristics Questionnaire, Intention to Perform Eating Behaviors for the Weight Control Questionnaire, and Eating Behaviors for Weight Control Questionnairewere used to gather three data sets.  Participants completed the questionnaire at baseline, and at weeks 6 and 18after the intervention.Analysisof the data was performed using descriptive statistics, two-way repeated measuresMANOVA, and independent t-tests.

The results revealed significantimprovement in the children of experimental group in theirintention to perform eating behaviors for weight control, eating behaviors, and nutritional statusat all periods of measurements than those in the control group.The findings suggest that nurses need to consider increased adoption of individual-based interventions,based on Theory of Planned Behavior, in order to effectivelyintervene in the obesity epidemic in Thailand.

บทคัดย่อ:ปัญหาภาวะอ้วนและน้ำหนักเกินในเด็กถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับชาติของหลายประเทศการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมรายบุคคลต่อพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักและภาวะโภชนาการในเด็กไทยอายุ 10-12 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินการจัดกิจกรรมได้พัฒนามาจากทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนเพื่อศึกษาถึงผลของ 1) ความตั้งใจในการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนัก 2) พฤติกรรมการบริโภคและ3) ภาวะโภชนาการของเด็ก

นักเรียนจากสองโรงเรียนถูกสุ่มเลือกให้เป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมจากนั้นกลุ่มตัวอย่างในแต่ละโรงเรียนที่มีคุณสมบัติตรงกับปัจจัยการคัดเข้าถูกสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลอง 68 คนและกลุ่มควบคุม 68คนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมรายบุคคลส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ตามหลักสูตรของโรงเรียนเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสองกลุ่ม ก่อนเริ่มโปรแกรม สัปดาห์ที่6 และสัปดาห์ที่ 18 หลังจากเริ่มโปรแกรม โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความตั้งใจในบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนัก และแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนักวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมแบบวัดซ้ำและสถิติทีแบบสองกลุ่มอิสระ

ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมีความตั้งใจในการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนัก พฤติกรรมการบริโภคและภาวะโภชนาการดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมากกว่ากลุ่มควบคุมตลอดระยะเวลาของการวัดผลซึ่งแสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนมีประสิทธิภาพต่อการเพิ่มความตั้งใจในการบริโภคเพื่อควบคุมน้ำหนัก พฤติกรรมการบริโภคและภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ดังนั้นพยาบาลควรนำการจัดกิจกรรมรายบุคคลนี้ไปประยุกต์ใช้ในเด็กกลุ่มอื่นที่มีภาวะน้ำหนักเกิน เพื่อนำไปสู่การควบคุมโรคอ้วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

Downloads

Published

2013-10-31

How to Cite

1.
Kanyamee M, Fongkaew W, Chotibang J, Aree P, Kennedy C. An Intervention Study of ChangingEating Behaviors and Reducing Weight in Thai ChildrenAged 10-12. PRIJNR [Internet]. 2013 Oct. 31 [cited 2025 Jan. 8];17(4):317-28. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/8832