การประยุกต์ใช้กระบวนการให้เหตุผลทางคลินิกในการเขียนวินิจฉัยทางการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล

ผู้แต่ง

  • เรวดี ศรีสุข

บทคัดย่อ

การวินิจฉัยทางการพยาบาล เป็นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติบนพื้นฐานของการให้เหตุผลที่เหมาะสม ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพกับปัจจัยที่มีผลกับภาวะสุขภาพ โดยผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการให้เหตุผลโดยการใช้ข้อมูลทั้งเชิงอัตนัย และปรนัย สรุปออกมาเป็น “ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล” ซึ่งจัดเป็นพื้นฐานของการเลือกแนวทางการวางแผนและปฏิบัติการพยาบาลในการแก้ไขและส่งเสริมสุขภาพของผู้รับบริการเป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน ดังนั้น การเขียนข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ถูกต้องภายใต้กระบวนการให้เหตุผลทางคลินิกที่มีประสิทธิภาพช่วยให้พยาบาลทราบจุดมุ่งหมายและแนวทางของการวางแผนการพยาบาลที่ถูกต้อง ส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพและปลอดภัย

References

นิสากร วิบูลชัย และกานต์รวี โบราณมูล. (2557). ปัญหาและอุปสรรคในการวินิจฉัยการพยาบาลของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาศรีมหาสารคาม. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 30(3),26-34.
มยุรี ยีปาโล๊ะ และคณะ. (2560). ผลของการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยะลา. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา. 18(3),128-134.
วิชัย เสวกงาม. (2557). ความสามารถในการให้เหตุผล ความสามารถที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารครุศาสตร์,42(2), 207-223.
สมจิตต์ สินธุชัย, พัชนียา เชียงตา และณัฐวุฒิ บุญสนธิ. (2561). การให้เหตุผลทางคลินิก : แนวคิดและการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข,
28(2), 27-40.
Aquilino, M. L. (1997). Cognitive development, clinical knowledge, and clinical experience related to diagnostic ability. Nursing Diagnosis, 8(3), 110-119.
Betty, A. J., & Gail, L. B. (2006). Nursing diagnosis handbook: A guide to planning care (7th ed.). St.Louis: Mosby, Elsevier.
Carpenito, LJ.(2008). Nursing Diagnosis: Application to Clinical Practice. (12 th ed.). Philadelphia : Lippincott William & Wilkins.
Carpenito-Moyet, L. J. (2010). Nursing diagnosis: application to clinical practice. (13 th ed.). Wolters Kluwer Health.
Levett-Jones, T., Hoffman, K., Dempsey, J., Jeong, S. Y., Noble, D., Norton, C. A., . . . Hickey, N. (2010). The 'five rights' of clinical reasoning: an educational model to enhance nursing students' ability to identify and manage clinically 'at risk' patients. Nurse Education Today,
30(6), 515-520.
NANDA International. (2017). Nursing Diagnosis Definitions and Classification 2015-2017. (3 th ed.) Oxford: Wiley Blackwell.
Seaback, Wanda. (2006) . Nursing process: Concepts &application. 2 nd. ed. Canada : Thompson Delmar Learning.
Simmon, B. (2010). Clinical reasoning: Concept analysis. Journal of Advanced Nursing. 66(5), 1151-8. doi: 10.1111/j.13652648.2010.05262.x. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/
20337790/. (online 20/3/64)
Tanner, C. A. (2006). Thinking like a nurse: A research-based model of clinical judgment in nursing. Journal of Nursing Education, 45(6), 204-11. doi: 10.3928/01484834-20060601-04. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16780008/. (online 20/3/64).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30