การปฏิบัติการพยาบาล: การเสริมสร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาของอาจารย์พยาบาล
คำสำคัญ:
การปฏิบัติการพยาบาล ความเชี่ยวชาญ อาจารย์พยาบาลบทคัดย่อ
การพยาบาลเป็นศาสตร์ของการปฏิบัติ การปฏิบัติการพยาบาลเป็นบทบาทสำคัญประการหนึ่งของอาจารย์พยาบาลที่ต้องปฏิบัติร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อแสดงถึงความเป็นวิชาชีพและพัฒนาความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาของตนเอง เป็นการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติทางคลินิกของอาจารย์ตามขอบเขตที่สภาการพยาบาลกำหนด สามารถปฏิบัติในลักษณะของผู้ปฏิบัติการพยาบาล การสอน การให้คำปรึกษา การวิจัย และการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายที่ตนเองสนใจหรือมีความเชี่ยวชาญ ซึ่งจะช่วยพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วย ช่วยให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการดูแลสุขภาพ และลดช่องว่างระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติได้เพิ่มขึ้น
References
สภาการพยาบาล. (2562). ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2562. นนทบุรี: สภาการพยาบาล.
สภาการพยาบาล. (2563). คู่มือการรับรองสถาบันการศึกษาวิชาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2562. นนทบุรี: บริษัทจุดทอง จำกัด.
ศิริอร สินธุ. (2564). การปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกของอาจารย์ (Faculty practice). จดหมายข่าวสภาการพยาบาล, 23(2), 7-9.
อรสา พันธ์ภักดี และคณะ. (2553). รูปแบบการจัดการศึกษาและการพัฒนาอาจารย์เพื่อผลิตพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในประเทศไทย. วารสารสภาพารพยาบาล, 25(3), 89-107.
Akram, A. S., Mohamad, A., & Akram, S. (2018). The role of clinical instructor in bridging the gap between theory and practice in nursing education. International Journal of Caring Sciences, 11(2), 876-882.
Black, B. (2019). Professional nursing E-Book: Concepts & challenges 9th ed. Elsevier Health Sciences.
Bosold, C., & Darnell, M. (2012). Faculty practice: Is it scholarly activity?. Journal of Professional Nursing, 28(2), 90-95.
Budden, L. (1994). Nursing faculty practice: Benefits vs costs. Journal of Advanced Nursing, 19(6), 1241-1246.
Catalano, J. T. (2019). Nursing Now: Today's Issues, Tomorrows Trends 8th ed. Philadelphia: FA Davis.
Chitty, K.K., & Black, B.P. (2014). Professional nursing: Concepts and challenges 7th ed. Missouri: Saunders.
Good, D. M., & Schubert, C. R. (2001). Faculty practice: How it enhances teaching. Journal of Nursing Education, 40(9), 389-396.
Krafft, S. K. (1998). Faculty practice: why and how. Nurse Educator, 23(4), 45-48.
Leddy, S.K., & Pepper, J.M. (2014). Conceptual bases of professional nursing 8thed. Philadelphia: Lippincott-Raven.
Marsilio, M., Torbica, A., & Villa, S. (2017). Health care multidisciplinary teams: the sociotechnical approach for an integrated system-wide perspective. Health care management review, 42(4), 303-314.
McArthur, D. B. (2019). Emerging infectious diseases. Nursing Clinics, 54(2), 297-311.
Milani, R. V., Bober, R. M., & Lavie, C. J. (2016). The role of technology in chronic disease care. Progress in cardiovascular diseases, 58(6), 579-583.
Miller, B.K. (1988). A model for professionalism in nursing. Today’ s OR Nurse 10(1): 18-23.
Miller, V. G. (1997). Coproviding continuing education through faculty practice: A win-win opportunity. The Journal of Continuing Education in Nursing, 28(1), 10-13.
Taylor D. (1996). Faculty practice: Uniting advanced nursing practice and nursing education. In, Hamric A, Spross J, Hanson C (eds.) Advanced nursing practice: An integrative approach. Philadelphia: Saunders.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว