การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง: การนำมาประยุกต์ใช้ในการสอนทางการพยาบาล
คำสำคัญ:
สถานการณ์จำลองเสมือนจริง พยาบาลศาสตร์ศึกษาบทคัดย่อ
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จำลองเสมือนจริงเป็นการจำลองสถานการณ์ที่มีความเหมือนกับสถานการณ์จริงมาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ปัจจุบันมีการนำ การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณืจำลองมาใช้ในการเรียนการสอนทางการพยาบาลมากขึ้น เนื่องจากการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงสูง จะช่วยพัฒนาทักษะการปฏิบัติการพยาบาล ทักษะการตัดสินใจและทักษะแก้ปัญหาของผู้เรียนได้ดี การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีขั้นตอนคือ ขั้นเตรียมการ ประกอบด้วย การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ การออกแบบสถานการณ์จำลอง การออกแบบวิธีการประเมินผล การเตรียมสถานการณ์จำลอง การเตรียมผู้สอน การเตรียมผู้เรียน ขั้นปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง ประกอบด้วยการให้คำแนะนำก่อนฝึกในสถานการณ์จำลอง การฝึกในสถานการณ์จำลองและการสรุปผลการเรียนรู้ และขั้นประเมินผล การประเมินผลการเรียนรู้ในสถานการณ์จำลองสามารถประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนที่ได้แสดงออกมา ข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลจะช่วยตรวจสอบว่าผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการหรือไม่ ผู้สอนที่ต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงควรศึกษาแนวคิด ขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง ข้อดีและข้อจำกัดของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง เพื่อให้ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
References
ทิศนา แขมมณี. (2552). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมจิตต์ สินธุชัย, กันยารัตน์ อุบลวรรณและสุนีย์รัตน์ บุญศิลป์. (2559). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ในสถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 23(1), 113-127
สุดารัตน์ วุฒิศักดิ์ไพศาล, ศิริพร ชุดเจือจีนและเขมจิรา ท้าวน้อย. (2563). ผลการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงในการเตรียมความพร้อมก่อน ฝึกปฏิบัติงานต่อความรู้ ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล.วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 14(2), 70-81.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯซ บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
Broussard, Myers & Lemoine. (2009). Preparing pediatric nurse: the role of simulation- based learning.
Comprehensive Pediatric Nursing. 32(1), 4-15.
Cant, R.P., & Cooper, S. J. (2010). Simulation-based learning in nurse education: Systematic review. Journal of Advance Nursing, 66(1), 3-15.
Dove Ward, G., Robinson, L., & Jowers Ware, L. (2017). The Lived Experience of Nursing Students Participating in High-Fidelity Simulation at a School Grounded in Caring. International Journal for Human Caring, 21(4), 200–207. https://doi.org/10.20467/HumanCaring-D-17-00027
Gates, M.G., Parr, M. B., and Hughen, J.E. (2012). Enhancing nursing knowledge using high-fidelity simulation. J Nurs Educ,51(1), 9-15.
Gore, T., Hunt, C. W., Parker, F., & Raines, K. H. (2011). The effects of simulated clinical experiences on anxiety: Nursing students perspectives. Clinical Simulation in Nursing, 7, e175-e180.
Hick, F. D., Coke, L., & Li, S. (2009). The effect of high-fidelity simulation on nursing students knowledge and performance: A pilot study. National Council of Boards of Nursing, 40, 1-27.
Jefferies,P.R. (2005). A framework for designing, implementing, and evaluating simulations used as teaching strategies in nursing. Nurs Educ Perspect, 26, 96-103.
Joyce, B. R., Weil, M. & Showers, B. (2010). The effects of cooperative learning experience on eighth grade
students’s achievement and attitude toward science. Education, 2010, 131(1), 169-180.
Kolb, D. A. (1984). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. Englewood Cliffs. NJ: Prentice-Hall Inc.
Liaw, S.Y., Scherpbier, A., Rethans, J., and Klainin-Yobas, P.(2012). Assessment for simulation learning outcomes: a comparison of knowledge and self-reported confidence with observed clinical performance. Nurs EducToday, 32, e35-e39.
O’Donnell, J.M., Decker, S., Howard, V., Levett-Jones,T., and Miller, C.W. (2014). NLN/Jeffries simulation framework state of science project: Simulation learning outcomes. Clinical Simulation in Nursing,10, 373-382.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว