ผลลัพธ์เรียนรู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลผ่านโปรแกรมออนไลน์
คำสำคัญ:
โปรแกรมออนไลน์, นักศึกษาพยาบาล, ภาวะผู้นำบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์เรียนรู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลผ่านโปรแกรมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4 จำนวน 100 คน เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) แบบประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาล 2) แบบประเมินความพึงพอใจ ค่าความตรงตามเนื้อหา ได้ค่า 1 ค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมิน ได้ค่า 0.96, 0.82. วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยภาวะผู้นำก่อนและหลังใช้โปรแกรมออนไลน์ด้วยสถิติ dependent t-test หาค่าความพึงพอใจด้วยสถิติเชิงพรรณนา
ผลการศึกษา พบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยภาวะผู้นำ สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .01 และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( M= 4.05 SD=0.67) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า โปรแกรมออนไลน์ใช้เป็นหลักสูตรเสริมการเรียนนอกห้องเรียนได้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (mean = 4.15 S.D=0.64)
จากผลการศึกษา มีข้อเสนอแนะ อาจารย์ผู้สอนวิชาการบริหารทางการพยาบาลควรนำโปรแกรมออนไลน์ไปใช้ในการเรียนรู้ภาวะนำทางการพยาบาล
References
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์. (2560). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตฉบับปรับปรุง 2560. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์. คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก.
แดนชัย ชอบจิตร ดลนภา ไชยสมบัติ และ สุทธินี มหามิตร วงค์แสน. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) ในรายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 สำหรับ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา. วารสารวิจัยทางการพยาบาลและสุขภาพ ,164(14), 95-105.
ธนวรรณ เจริญนาน, สิริยุพิน ศุภ์ธนัชภัคชนาและ ปริญญา ทองสอน. (2562).ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย Google Classroom เรื่อง การสร้างสรรค์ ชิ้นงานด้วยไมโครซอฟท์เพาเวอร์พ้อย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. 7(1), 381-396.
นันท์ศุภวัฒน์ และอุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม. (2562). ระบบพี่เลี้ยงกับการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล.วารสารพยาบาลสาร. 46(3): 1-7.
สุพิตรา เศลวัตนะกุล กาญจนา ศรีสวัสดิ์ ศุกร์ใจ เจริญสุข และบุญทิพย์ สิริธรังศรี. (2564). การพัฒนาสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ามหลักเวชจริยศาสตร์ สำหรับนักศึกษาพยาบาลผ่านโปรแกรมออนไลน์. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์และสุขภาพ, 16(2), 25-36
อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ และอุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม. (2562). ระบบพี่เลี้ยงกับการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล, พยาบาลสาร, 46(3), 232–238. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218568
อลงกต ยะไวทย์ และ ณัฐวัฒน์ วงษ์ชวลิตกุล. (2562). การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการสร้างสภาวะแวดล้อมการเรียนด้วยการทำงานในสภาพจริง. วารสารครุศาสตร์.47(ฉบับเพิ่มเติม 2): 407-427.
Bawane, J. & Spector, M.J. (2009). Prioritization of online instructor roles: implications for competency‐based teacher education programs. Distance Education, 30(3), 383-397. Doi.org/10.1080/01587910903236536.
Lapitan, LJr., Tiangco, C.E., Sumalinog, D., Sabarillo, N.S., Diaz, J.M. (2021). An effective blended online teaching and learning strategy during the COVID-19 pandemic. Chemical Engineering Education, 35,116–31. https://doi.org/10.1016/j.ece.2021.01.012
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว