การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวก ของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย

Main Article Content

สุปาณี เสนาดิสัย
รักชนก คชไกร
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์
อัครเดช เกตุฉ่ำ
เสาวรส มีกุศล
ยุพา จิ๋วพัฒนกุล
เวหา เกษมสุข
สุภาภัค เภตราสุวรรณ
นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาล จำนวน 2,340 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสำรวจอิเล็กทรอนิกส์ ที่ประยุกต์จาก Nurse Work Environment Assessment Tool และ Professional Practice Environment Scale หาค่า สั มประสิ ทธิ์ ความเชื่อมั่ นได้ เท่ากั บ0.977 พยาบาลตอบแบบสำรวจด้ วยตนเองตาม link/QR code ในโปสเตอร์ ประชาสั มพั นธ์ ที่ส่งไปสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลร้อยละ 64.36 มีความคิดเห็นว่าสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานพลังบวกอยู่ในระดับไม่ดี องค์ประกอบของการสนับสนุนของรัฐบาลมี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ การสนับสนุนจากสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ และการสนับสนุนจากสภาวิชาชีพ

Article Details

How to Cite
เสนาดิสัย ส., คชไกร ร., ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ จ., เกตุฉ่ำ อ., มีกุศล เ., จิ๋วพัฒนกุล ย., เกษมสุข เ., เภตราสุวรรณ ส., & ชินล้ำประเสริฐ น. (2019). การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวก ของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย. วารสารพยาบาล, 67(4), 1–10. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJN/article/view/200753
บท
บทความวิจัย

References

วิจิตร ศรีสุพรรณ และกฤษดา แสวงดี. (2555). ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพใน
ประเทศไทย. วารสารสภาการพยาบาล, 27(1), 5-12.

อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์, เรมวล นันท์ศุภวัฒน์ และวิภาดา คุณาวิกติกุล. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมในการ
ทำงานของพยาบาลกับผลลัพธ์ ของผู้ป่วยและพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย. พยาบาลสาร, 41(1),
37-49.

Coetzee, S. K., Klopper, H. C., Ellis, S. M., & Aiken, L. H. (2013). A tale of two systems-nurses practice environment,
well-being, perceived quality of care and patient safety in private and public hospitals in South Africa:
A questionnaire survey. International Journal of Nursing Studies, 50(2), 162-173.

Duvall, J., & Andrews, D. (2010). Using a structured review of the literature to identify key factors associated with
the current nursing shortage. Journal of Professional Nurse, 26(5), 309-17.

Gronlund, N. E. (2003). Assessment of student achievement (7th ed.). Boston, MA: Allyn & Bacon.
International Council of Nurses [ICN]. (2007). Positive practice environments: Quality workplaces quality patient care.
Retrieved June 10, 2017, from https://www.icn.ch/images/stories/documents/publications/ind/indkit2007.pdf

Kilańska, D., Gorzkowicz, B., Sienkiewicz, Z., Lewandowska, M., Dominiak, I., & Bielecki, W. (2016). Evaluation of
chosen determinants of the positive practice environments (PPE) at Polish nursing wards. Medycyna Pracy,
67(1), 11-19.

Linn, R. L., & Miller, M. D. (2004). Measurement and assessment in teaching (9th ed.). Upper Saddle River, NJ:
Prentice Hall.

Matsiko, C. W. (2010). Positive practice environments in Uganda: Enhancing health worker and health system
performance. Geneva, Switzerland: International Council of Nurses, International Pharmaceutical Federation,
World Dental Federation, World Medical Association, International Hospital Federation, World Confederation
for Physical Therapy/Global Health.

Nantsupawat, A., Srisuphan, W., Kunaviktikul, W., Wichaikhum, O., Aungsuroch, Y., & Aiken, L. Y. (2011). Impact of
nurse work environment and staffif ing on hospital nurse and quality of care in Thailand. Journal of Nursing
Scholarship, 43(4), 426-433.

World Health Organization [WHO]. (2006). Working together for health. Retrieved June 16, 2017, from https://www.
who.int/whr/2006/whr06_en.pdf