ปัจจัยทำนายการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 ของสตรีตั้งครรภ์

Main Article Content

จารุวรรณ ก้าวหน้าไกล
อุมาภรณ์ กั้วสิทธิ์
ธนพร สุระเสน
นิตยา อามาตยบัณฑิต

บทคัดย่อ

   การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 ในสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 242 คน เป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาลระดับจังหวัด 2 แห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 แบบ สอบถามทัศนคติต่อวัคซีนโควิด 19 และการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19  ได้รับการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าสัม ประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามทัศนคติต่อวัคซีนโควิด 19 และการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 ได้เท่า กับ 0.82 และ 0.85 ตามลำดับ และแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 หาค่าสัม ประสิทธิ์ความเที่ยง ได้ค่า KR = 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบดังนี้ 1) สตรีตั้งครรภ์ มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 อยู่ในระดับปานกลาง  มีทัศนคติต่อวัคซีนโควิด 19 อยู่ในระดับมาก และมีการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 อยู่ในระดับมาก  และ  2) ทัศนคติต่อวัคซีนโควิด 19  สามารถทำนายการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 ในสตรีตั้งครรภ์ ได้ (B = 0.836) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001

Article Details

How to Cite
ก้าวหน้าไกล จ. . ., กั้วสิทธิ์ อ., สุระเสน ธ. ., & อามาตยบัณฑิต น. . . (2024). ปัจจัยทำนายการตัดสินใจรับวัคซีนโควิด 19 ของสตรีตั้งครรภ์ . วารสารพยาบาล, 73(2), 32–40. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJN/article/view/264850
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. (2564). แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด 19 สำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง. กระทรวงสาธารณสุข.

https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_protection/int_protection_ 030164.pdf

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. (2566a). สถานการณ์ผู้ป่วยโควิด-19 ภายในประเทศ. กระทรวงสาธารณสุข. https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. (2566b). รายงานความก้าวหน้าการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19. กระทรวงสาธารณสุข. https://ddc.moph.go.th/vaccine-covid19

คณะกรรมการกำกับดูแลรักษาโควิด 19. (2564). แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย การดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์ และบุคลากรสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 25). คณะกรรมการกำกับดูแลรักษาโควิด 19. https://www.thainapci.org/2021/2022/09/29/

ธวัชชัย วรพงศธร. (2541). หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บวรลักษณ์ ขจรฤทธิ์ และ บุฏกา ปัณฑุรอัมพร. (2564). ศึกษาการตัดสินใจฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 ของประชากรในจังหวัดสมุทรปราการ. http://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sun18/6214070058.pdf

ปิยธิดา เฉียบแหลม และ พเยาว์ เฉียบแหลม. (2565). วัคซีนป้องกันโควิด-19 กับการตั้งครรภ์. วารสารพยาบาลทหารบก, 23(3), 17-25.

เอกภพ นันทวงศ์. (2565). ผลลัพธ์ของมารดาและทารกแรกเกิดที่คลอดขณะติดเชื้อโควิด-19 ในโรงพยาบาลชัยภูมิ. ชัยภูมิเวชสาร, 42(2), 59-67.

Ahmed, M. H., Siraj, S. S., Klein, J., Ali, F. Y., & Kanfe, S. G. (2021). Knowledge and attitude towards second COVID-19 vaccine dose among health professionals working at public health facilities in a low income country. Infection and Drug Resistance, 14, 3125–3134.

https://doi.org/10.2147/IDR.S327954

Best, J. W., & Kahn, J. (2006). Research in education. In J. Kahn (Eds.), Descriptive data analysis (10 th.ed.).(pp. 358-359). Pearson Education.

Elhadi, M., Alsoufi, A., Alhadi, A., Hmeida, A., Alshareea, E., Dokali, M., Abodabos, S., Alsadiq, O., Abdelkabir, M., Ashini, A., Shaban, A., Mohammed, S., Alghudban, N., Bureziza, E., Najah, Q., Abdulrahman, K., Mshareb, N., Derwish, K., Shnfier, N., … sherghi, A. (2021). Knowledge, attitude, and acceptance of healthcare workers and the public regarding the COVID-19 vaccine: A cross-sectional study. BMC Public Health, 21(1), 955.

https://doi.org/10.1186/s12889-021-10987-3

Lin, Y., Hu, Z., Zhao, Q., Alias, H., Danaee, M., & Wong, L. P. (2020). Understanding COVID-19 vaccine demand and hesitancy: A nationwide online survey in China. PLOS Neglected Tropical

Diseases, 14(12), Article e0008961. https://doi.org/10.1371/journal.pntd.0008961

Wang, J., Jing, R., Lai, X., Zhang, H., Lyu, Y., Knoll, M. D., & Fang, H. (2020). Acceptance of COVID-19 vaccination during the COVID-19 pandemic in China. Vaccines, 8(3), 482. https://doi.org/10.3390/vaccines8030482

World Health Organization. (2023, March 30). COVID-19 vaccine tracker and landscape. World Health Organization.

https://www.who.int/teams/blueprint/covid-19/covid-19-vaccine-tracker-and-landscape

World Health Organization. (2023, September 29). COVID-19 Epidemiological update - 29 September 2023. World Health Organization.

https://www.who.int/publications/m/item/covid-19-epidemiological-update-29-september-2023

World Health Organization. (2023, March 18). Advice for the public: Coronavirus disease (COVID-19). World Health Organization.

https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/advice-for-public