Medical Supply Management

Authors

  • Chitchanok Duangsancho โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

Medical, Supply, Management

Abstract

 

วัสดุเวชภัณฑ์ถือเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อหน่วยงานต่างๆภายในโรงพยาบาล ปัจจุบันโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติมีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ยอดการใช้วัสดุเวชภัณฑ์มีปริมาณที่สูง หากมีการบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสมมีจำนวนมากหรือน้อยเกินไปอาจทำให้เกิดความสูญเสียทางด้านทรัพยากรและงบประมาณต่อหน่วยงานและองค์กรได้ งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรกรรม ธท.2 จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการ Medical Supply Management ขึ้น เพื่อบริหารจัดการวัสดุเวชภัณฑ์ในหน่วยงาน โดยมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถบริหารจัดการวัสดุเวชภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม เพียงพอ

ผลการดำเนินโครงการพบว่า อัตราการสำรองวัสดุเวชภัณฑ์เท่ากับ 18% ซึ่งไม่เกินอัตราที่กำหนด 20%

โครงการ Medical Supply Management ช่วยให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการวัสดุเวชภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดปริมาณเวชภัณฑ์ที่เกินความจำเป็น และสามารถกำหนดจำนวนเวชภัณฑ์ที่เพียงพอต่อความต้องการใช้ภายในหน่วยงานได้

References

สุเมธ พีรุวฒิ.( 2553). LEAN MANAGEMENT การบริหารจัดการองค์กร เพื่อขจัดความสูญเปล่าในระบบงานโรงพยาบาล. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Kim CS, Spahlinger DA, Kin JM, Billi JE. (2006). Lean health care: what can hospitals learn form a world-class automaker.Journal of Hospital Medicine ; 1:191-199

Womack JP, Jones DT. (2003). Leanthinking. New York: Simon&Schuster

Downloads

Published

2017-08-31

How to Cite

1.
Duangsancho C. Medical Supply Management. TUHJ [Internet]. 2017 Aug. 31 [cited 2024 Dec. 23];2(2):45-8. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/240251

Issue

Section

Special Articles