Nurse Literacy Hypertension in OPD

Authors

  • Winit Longlalerng Thammasat University Hospital, Thammasat University
  • Puntip Dangdtip Thammasat University Hospital, Thammasat University

Keywords:

hypertension

Abstract

โรคความดันโลหิตสูง (hypertension) นั้น พบได้บ่อยมากในวัยผู้ใหญ่สูงถึงประมาณร้อยละ 25-30 ของประชากรโลกที่เป็นผู้ใหญ่ทั้งหมด โดยพบในผู้ชายมากกว่าในผู้หญิง และพบได้สูงขึ้นในผู้สูงอายุ ในบางประเทศพบโรคนี้สูงถึงร้อยละ 50 ของผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ คาดว่าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคนในปี พ.ศ. 2568 (ค.ศ. 2025) สาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิต เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การรับประทานอาหารที่มี ส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ นำมาสู่ภาวะของโรคที่เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก  ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ภาวะความดันโลหิตสูงจึงเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่เป็นสาเหตุทำให้คนทั่วโลกรวมถึงคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดตามมา

References

รุ่งนภา อาระหัง, สุธีรา ฮุ่นตระกูล และศศิธร รุจนเวช. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงที่ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม. วารสารแพทย์นาวี 2561; 45(3): 509-562.

กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก ปี 2560 [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaincd.com/about-us/organization-monitor-injured.html

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย; 2562.

ชนวนทอง ธนสุกาญจน์ และนรีมาลย์ นีละไพจิตร. การพัฒนาเครื่องมือวัดความรู้แจ้งแตกฉานด้านสุขภาพ (Health Literacy) สำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล; 2558.

Parker, R.M., The Health literacy: A challenge for American patients and their health care providers. Health Promot 2000; Int.; 15: 277-91.

De Walt, D., Berkman, N., Sheridan, S., Lohr, K., Pignone, M. Literacy and health outcomes. J Gen Intern Med 2004; 19:1228-39.

วชิระ เพ็งจันทร์. เอกสารประกอบการบรรยาย Health Literacy [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://203.157.65.15/anamai_web/ ewt_dl_link.php?nid=10221

กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. รายงานประจำปี 2558.

กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกใน พระบรมราชูปถัมภ์์; 2559.

Taggart, J., Williams, A., Dennis, S., Newall, A., Shortus, T., Zwar, N., et al. A systematic review of interventions in primary care to improve health literacy for chronic disease behavioral risk factors [internet]. 2012 [cited 2016 May 25]. Available from:http://www.biomedcentral.com/1 1471-2296/13/49/prepub

Downloads

Published

2020-08-13

How to Cite

1.
Longlalerng W, Dangdtip P. Nurse Literacy Hypertension in OPD. TUHJ [Internet]. 2020 Aug. 13 [cited 2024 Apr. 20];5(2):31-7. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/244206

Issue

Section

Special Articles