การสร้างแนวปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ในผู้ป่วยทารกแรกเกิด

Authors

  • ลฎาภา พานเทียน Thammasat University Hospital, Thammasat University

Keywords:

ปอดอักเสบ, ถอดเครื่องช่วยหายใจ, ผู้ป่วยทารกแรกเกิด

Abstract

ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ(ventilator associated pneumonia: VAP) เป็นภาวะปอดอักเสบที่เกิดขึ้นภายหลังจากผู้ป่วยได้รับเครื่องช่วยหายใจนานกว่า 48 ชั่วโมง หรือหลังจากถอดเครื่องช่วยหายใจภายใน 48-72 ชั่วโมง  ซึ่งภาวะดังกล่าวสามารถป้องกันได้หากมีการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์หรือแนวปฏิบัติที่เหมาะสมในแต่ละบริบท  แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์หรือแนวปฏิบัติมาใช้ดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจได้ดี  แต่ปอดอักเสบยังคงมีอยู่และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น  เมื่อเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจส่งผลให้ทารกต้องนอนอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงขึ้นและมีโอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้น

References

ภาวิดา เล็กวุฒิกรณ์. ผลของการสอนด้วยสื่อประสมต่อความรู้และการปฏิบัติของบุคลากรพยาบาลในการป้องกันปอดอักเสบและอุบัติการณ์การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต(การพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ)] .เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2554.

Melnyk, B.M. & Fineout-Overholt, E. Evidence-based practice in nursing and health care: A guide to best practice. Philadephia: Lippincott Williams & Wilkin; 2005.

World Health Organization. (2015). Your 5 Moment for Hand Hygiene [internet]. 2018 [cited 2018 November 12] Available from: who.int/gpsc/tools/five_moment/en/

ยุวนิดา อารามรมย์. การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2558; 2(3):144-158.

American Association for Respiratory Care (AARC). Clinical practice guideline. Endotracheal suctioning of mechanically ventilated patients with artificial airways. Respiratory Care 2010; 55(6):758- 764.

จุฬีพรรณ การุโณ, บุษกร พันธ์เมธาฟทธิ์และวันธณี วิรุฬห์พานิช. การพัฒนามาตรฐานการพยาบาล เพื่อป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในทารกแรกเกิด. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2560; 37(1): 105-116.

Cutler L. C. & Davis N. Improving Oral in Patients Receiving Mechanical Ventilation. Am. J. Crit. Care 2005; 14:389-394

พิกุล ขำศรีบุศ. การดูแลระบบทางเดินหายใจและกายภาพบำบัดปอด (Respiratory care and chest physiotherapy). ใน พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์, บรรณาธิการ. Optimizd care in newborn. กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส; 2553 หน้า 171-179.

Downloads

Published

2020-12-01

How to Cite

1.
พานเทียน ล. การสร้างแนวปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ในผู้ป่วยทารกแรกเกิด. TUHJ [Internet]. 2020 Dec. 1 [cited 2024 Nov. 22];5(3):45-5. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/247713

Issue

Section

Special Articles