Love Your Heart Program

Authors

  • วินิตย์ หลงละเลิง Thammasat University Hospital, Thammasat University

Keywords:

ภาวะหัวใจล้มเหลว, ระบบหัวใจและหลอดเลือด, กล้ามเนื้อหัวใจ

Abstract

ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure: CHF) เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่เป็นการดำเนินโรคในระยะท้ายของโรคหัวใจเกือบทุกชนิด[1]  เป็นกลุ่มอาการที่มีสาเหตุจากความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด  อาจเป็นที่ระดับโครงสร้างหรือการทำงานที่ผิดปกติของโครงสร้าง เช่น กล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ระบบหลอดเลือดทั้งที่หล่อเลี้ยงร่างกายและปอด  ทำให้เกิดอาการและอาการแสดง ที่บ่งบอกถึงความผิดปกติ เช่นหายใจไม่สะดวก เหนื่อยง่าย แขน ขาบวม เส้นเลือดที่คอโป่งพอง และมีภาวะน้ำท่วมปอด

References

รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ และ อรินทยา พรหมินธิกุล. คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังแบบบูรณาการ.สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. [อินเทอร์เน็ต]. เชียงใหม่: โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์; 2556

[เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ย. 2563]. เข้าถึงได้จาก: https: //www.slideshare.net/ UtaiSukviwatsirikul/cmu-hf-clinic.

สุภาณี สินเพิ่มสุขสกุล. เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การดูแลรักษาผู้ป่วย Chronic and Acute Heart Failure. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์: กรุงเทพมหานคร; 2563.

ปิยภัทร ชุณหรัศมิ์, ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ และระพีพล กุญชร ณ อยุธยา. แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2562 (Heart Failure Council of Thailand (HFCT) 2019 Heart Failure Guideline). สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เนคสเตป ดีไซน์; 2562.

Haldeman GA, Croft JB, Giles WH, Rashidee A. Hospitalization of patients with heart failure: national hospital discharge survey 1985-1995. Am Heart J 1999; 137: 352-60.

Roger VL, Weston SA, Redfield MM, Hellermann-Homan JP, Killian J, Yawn BP, Jacobsen SJ. Trends in Heart Failure Incidence and Survival in a Community-Based Population: American Medical Association. JAMA 2004; 292 (3): 344-350.

Reyes EB, Ha J-W, Firdaus I, Ghazi AM, Phrommintikul A, Sim D, Vu QN, Siu CW, Yin W-H, Cowie MR. Heart failure across Asia: Same healthcare burden but differences inorganization of care: International Journal of Cardiology 2016; 223: 163–167.

พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ. ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรม การดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจลม้เหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์. วารสาร พยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2558; 26(1): 2-14.

จอม สุวรรณโณ, เรวดี เพชรศิราสัณฑ์, จุก สุวรรณโณ, วงรัตน์ ใสสุข, และอรุณศรี จันทรประดิษฐ์. อายุกับการดูแลตนเองในภาวะหัวใจล้มเหลว: เปรียบเทียบสมรรถนะการดูแลตนเองเพื่อคงภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ใหญ่. สงขลานครินทร์เวชสาร 2552; 27: 335-46.

Vinson JM, Rich MW, Speerry JC, Shah AS, McNamara T. Early readmission of elderly patients with congestive heart failure. J Am Geriatr Soc1990; 38: 1290-95.

Philbin EF, Rocco TA, Lidenmuth NW, Ulrich K, Jenkins PL. Clinical outcomes in heart failure: report from a community hospital-based registry. Am J Med 1999; 107: 549-55.

อนงค์ อมฤตโกมล. บทบาทพยาบาลคลินิกหัวใจล้มเหลว. ใน: รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ และ อรินทยา พรหมินธิกุล, บรรณาธิการ. คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังแบบบูรณาการ. สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ [อินเทอร์เน็ต].

เชียงใหม่: โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์; 2556 [เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ย. 2563]. เข้าถึงได้จาก: https: //www.slideshare.net/ UtaiSukviwatsirikul/cmu-hf-clinic.

Riegel B, Carlson B, Moser DK, Sebern M, Hicks FD, Roland V. Psychometric testing of the self-care of heart failure Index. J Cardiac Fail 2004; 10: 350-60.

จอม สุวรรณโณ, เรวดี เพชรศิราสัณฑ์, ปุณยวีร์ ประเสริฐไทย, อรุณศรี จันทร์ประดิษฐ์, วงรัตน์ ใสสุข. การดูแลตนเองของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง. วารสารสภาการพยาบาล 2551; 23 (1): 35-47.

จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, ศศิธร วรรณพงษ์. การพัฒนาโปรแกรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในจังหวัดนครนายก: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วารสารสภาการพยาบาล 2557; 29 (4): 64-78.

จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, พัชรินทร์ ขวัญชัย, ทัศนีย์ สร้อยอ่อน. ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและการให้ความรู้ต่อความสามารถในการทำกิจกรรมและการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2555; 18 (1): 102-118.

Tangsatitkiat W, Sakthong P. Thai version of the Minnesota Living with Heart Failure Questionnaire: psychometric testing using a longitudinal design. Asian Biomedicine 2010; 4(6): 877-84.

อัจฉริยา พ่วงแก้ว, พรรณิภา บุญเทียร, ศศิมา ทองสาย, นพวรรณ เจริญยศ, ลัลน์ภัทรา ธนัตถ์โภคินันท์. ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2563; 31 (1): 179-97.

Krebs EE, Carey TS, Weinberger M. Accuracy of the pain numeric rating scale as a screening test in primary care. JGIM 2007; 22: 1453-58.

อนงค์ อมฤตโกมล. คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม Super Nurses : Driving Forces in Comprehensive Health Care Success: พลังพยาบาลในการขับเคลื่อนคณุภาพการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 8 ธ.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https: // www.med.cmu.ac.th › hospital › WebForum.

American Heart Association. Discharge Criteria for Patients Hospitalized with Heart Failure. [internet]. 2017 [2019 March 19] Online Available from: https://www.heart.org › professional › target-heart- failure. TARGET: HF.

De Loor S, Jaarsma T. Nurse-managed heart failure program in the Netherlands. Eur J Cardiovasc Nurs 2002; 1(2): 123-9.

Mc Alister FA, Lawson FM, Teo KK, Armstrong PW (2001). A systematic review of randomized trials of disease management programs in heart failure. Am J Med 2001; 110 (5): 378-84.

Doughty RN, Wright SP, Pearl A, Walsh HJ, Muncaster S, Whalley GA, Gamble G, Sharpe N. Randomized, controlled trial of integrated heart failure management. The Auckland Heart Failure Management Study. Eur Heart J 2002; 23(2): 139-146.

Downloads

Published

2020-12-01

How to Cite

1.
หลงละเลิง ว. Love Your Heart Program. TUHJ [Internet]. 2020 Dec. 1 [cited 2024 Nov. 5];5(3):61-70. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/247717

Issue

Section

Special Articles