การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและมีไข้ (febrile neutropenia) ในผู้ป่วยที่ได้รับเคมีบำบัด

Authors

  • Watjana Nakamanuruk Thammasat University Hospital, Thammasat University
  • Ladawan Ritklar Thammasat University Hospital, Thammasat University

Keywords:

febrile neutropenia, evidence based practice model, chemotherapy

Abstract

ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและมีไข้ (febrile neutropenia) เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด เป็นภาวะแทรกซ้อนที่มีความรุนแรงและอาจส่ง ผลเสียต่อผลลัพธ์การรักษาหลายประการ  เช่น เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ทำให้วงรอบของการให้ยาเคมีบำบัดล่าช้าออกไป ลดประสิทธิภาพของยาเคมีบำบัด เพิ่มอัตราวันนอนโรงพยาบาลนานมากขึ้น เพิ่มการใช้ยาปฏิชีวนะ เพิ่มค่ารักษาพยาบาลสูงขึ้น และที่สำคัญที่สุดคือทำให้อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้นในผู้ป่วยมะเร็งหลายชนิด

References

ชาญชัย ไตรวารี, อาคม สายแวว, รชต ลำกูล, กิตติ ต่อจรัส. การติดเชื้อในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่มีภาวะ ไข้ร่วมกับเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลต่ำในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. เวชสารแพทย์ทหารบก. 2555; 65(211-218).

ดวงพร บริสุทธิ์บัวทิพย์. ภาวะไข้ร่วมกับเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ำในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด เฉียบพลันที่ได้รับยาเคมีบำบัดในคณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. วชิรเวชสาร. 2561; 58(3):22-32.

ปัทมา เพชรไพรินทร์. กรณีศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์ที่ได้รับยาเคมีบำบัด : กรณีศึกษา 2 ราย. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2561; 15(3):178-86.

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. สถิติผู้รับบริการ งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรกรรม ธท.2. 2019.

Soukup SM. The Center for Advanced Nursing Practice evidence-based practice model: promoting the scholarship of practice. Nurs Clin North Am. 2000; 35(2):301-9.

พิจิตรา เล็กดำรงกุล. การประเมินความเสี่ยงและการจัดการการเกิดไข้ในภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำในผู้ป่วยมะเร็งได้รับยาเคมีบำบัด : บทบาทพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล. 2558; 30(1):5-15.

พิจิตรา เล็กดำรงกุล. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดไข้ในภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่ได้รับยาเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลศาสตร์. 2563; 27(2):58-68.

อภิชญา ลือพืช, ขวัญจิต ด่านวิไล. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลต่ำในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. วารสารเภสัชกรรมไทย. 2560; 9(1):180-91.

เอกรัฐ รัฐฤทธิ์ธำรง. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาภาวะเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟิลต่ำในผู้ใหญ่ (Approach to Neutropenia in Adult). วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต. 2561; 28(3):281-7.

Klastersky et al. Management of febrile neutropaenia: ESMO Clinical Practice Guidelines†. Ann Oncol. 2010; 21(5):252-6

วันเพ็ญ เอี๊ยะเผ่าพันธ์. การเกิดไข้ในภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำเร็ว ในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิดไมอีลอยด์ที่ได้รับยาเคมีบำบัดเพื่อชักนำให้โรคสงบสมบูรณ์ที่โรงพยาบาลศิริราช: มหาวิทยาลัยมหิดล 2557.

กลีบสไบ สรรพกิจและคณะ. การวิเคราะห์แนวทางปฏิบัติในการรักษาภาวะไข้และเม็ดเลือดขาต่ำในผู้ป่วยเด็กมะเร็งโรงพยาบาล ศิริราช. J Med Assoc Thai. 2548; 88(9):124-34.

ศรุตา ฟักนวม. ภาวะไข้จากเม็ดเลือดขาวต่ำในผู้ป่วยหลังการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลศูนย์ นครปฐม. วารสารแพทย์เขต 4-5. 2563; 39(1):25-34.

Braga CC, Taplitz RA, Flowers CR. Clinical Implications of Febrile Neutropenia Guidelines in the Cancer Patient Population. J Oncol Pract. 2019; 15(1):25-6.

Klastersky J, Paesmans M, Rubenstein EB, Boyer M, lting L, Ronald F. The multinational association for supportive care in cancer risk index: A multinational scoring system for identifying lowrisk febrile neutropenic cancer patients. J Clin Oncol. 2000; 18(16):3038-51.

Alison Freifeld et al. Clinical practice patterns of managing low-risk adult febrile neutropenia during cancer chemotherapy in the USA. Support Care Cancer. 2012; 16:181-91.

Jason D. Wright et al. Deviations from Guideline-Based Therapy for Febrile Neutropenia in Cancer Patients and Their Effect on Outcomes. JAMA Intern Med. 2013; 173(7):559-68.

Lucas AJ, Olin JL, Coleman MD. Management and Preventive Measures for Febrile Neutropenia. P T. 2018; 43(4):228-32.

Lugtenburg P, Silvestre AS, Rossi FG, Noens L, Krall W, Bendall K, et al. Impact of age group on febrile neutropenia risk assessment and management in patients with diffuse large B-cell lymphoma treated with R-CHOP regimens. Clin Lymphoma Myeloma Leuk. 2012; 12(5):297-305.

Downloads

Published

2021-08-02

How to Cite

1.
Nakamanuruk W, Ritklar L. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและมีไข้ (febrile neutropenia) ในผู้ป่วยที่ได้รับเคมีบำบัด. TUHJ [Internet]. 2021 Aug. 2 [cited 2024 Dec. 23];6(2):20-7. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/252494

Issue

Section

Special Articles