การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายร่วมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (Design and Development of Constructivist Web – Based Learning Environment with Augmented Reality to Enhance Analytical Thinking on the Topic of Elements of Computer Systems for Grade 7 Students)

Main Article Content

เบญจวรรณ หันจางสิทธิ์ (Benchawan Hunjangsit)
สุมาลี ชัยเจริญ (Sumalee Chaijaroen)

Abstract

                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายร่วมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนชุมชนบ้านนาดีหนองไผ่ จำนวน 30 คน และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 ท่าน รูปแบบที่ใช้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา รูปแบบที่ 1 ประกอบด้วย  3 กระบวนการ ได้แก่ 1) กระบวนการออกแบบ 2)กระบวนการพัฒนา และ 3) กระบวนการประเมิน ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายร่วมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมฯ   ที่อาศัยพื้นฐานจากกรอบแนวคิดการออกแบบฯ และนำทฤษฎีลงสู่การปฏิบัติโดยทำการออกแบบและพัฒนา ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ  1) สถานการณ์ปัญหา 2) แหล่งการเรียนรู้ 3) เครื่องมือทางปัญญา 4) ศูนย์ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ 5) การร่วมมือกันแก้ปัญหา 6) ฐานการช่วยเหลือ และ 7) การโค้ช และผลการประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่าเหมาะสมทั้ง 5 ด้าน คือ 1) การประเมินด้านผลผลิต 2) การประเมินด้านบริบทการใช้ 3) การประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน 4) การประเมินด้านความสามารถทางปัญญา และ 5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน


 


                The purpose of this research was to design and develop the constructivist   web-based learning environment with augmented reality to enhance analytical thinking on the topic of elements of computer systems for grade 7 students. The target groups consisted of  1) the 7 experts, 2) 30 students who were studying in computer subject on the topic of elements of computer systems, in the second semester, academic year 2017, Chumcholbannadeenongphai School. The developmental research Type I (Richey, R.C and Klein J.D. (2007)) of research design was employed in this study. The results were revealed that: The design and development the constructivist web-based learning environment with augmented reality developed based on designing framework consisted of 7 components: 1) Problem bases, 2) Resources, 3) Cognitive tools, 4) Analytical thinking center, 5) Collaboration 6) Scaffolding, and 7) Coaching. It was assessed by experts. The efficiency was found appropriateness in all aspects: 1) Product assessment, 2) Contextual utilization assessment, 3) Learner’s opinions assessment, 4) Learners’ analytical thinking, and 5) Achievement scores. Assessed by expert review

Article Details

Section
Humanities, Social Sciences, and Arts

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์. (2547). การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: ชัคเซสมีเดีย.
ชัยยา บุรีสุวรรณ. (2560). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการดู การฟัง และการอ่าน เพื่อส่งเสริม การคิดวิเคราะห์ และ การคิดเชิงเหตุผล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น” Veridian E-
Journal, Silpakorn University 10, 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 318-335.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์เครือข่าย. พิมพ์ครั้งที่ 9. มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
______. (2533). เทคโนโลยีการศึกษา ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
บริสุทธิ์ธรรม พิมพ์ศิริ. (2559). “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism เพื่อส่งเสริม ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา” Veridian E-Journal,
Silpakorn University 11, 1 (มกราคม – เมษายน): 616-632.
ปาจรีย์รักษ์ ถนอมทรัพย์, และ สุมาลี ชัยเจริญ. (2558). กรอบแนวคิดการออกแบบสิ่งแวดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สำหรับ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. การ ประชุมวิชาการระดับชาติ โสตฯ – เทคโนฯ สัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29. (น. 463-469). กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
นวรัตน์ แซ่โค้ว และสุรชัย ประเสริฐสรวย (2558). การพัฒนาแบบจำลองโลกเสมือนจริงสำหรับบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ วารสารวิจัยและพัฒนา (น. 463-469). ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (เดือน
มกราคม – เดือนเมษายนพ.ศ.2558) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
สุชาติ วัตนชัย. (2547). ผลของการเรียนบทเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตัรคติวิสต์ เรื่อง การบาดเจ็บของข้อเข่าม้า สาหรับนักศึกษาสัตวแพทย์ชั้นปีที่ 5. รายงานการศึกษาอิสระปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สุพัฒน์ บุญอยู่ (2559). สื่อการสอนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สุมาลี ชัยเจริญ, ปรมะ แขวงเมือง, ปรัชญา แก้วแก่น, และ จารุณี ซามาตย์. (2559). การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมทางปัญญาที่ส่งเสริมการประมวลสารสนเทศโดยการบูรณาการระหว่าง
ศาสตร์การสอนกับประสาทวิทยาศาสตร์. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2559), 27(2), 37-50
สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอนหลักการ ทฤษฏี สู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1 ขอนแก่น: สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อุษณีย์ มณีรัตน์, และ สุมาลี ชัยเจริญ. (2559). กรอบแนวคิดการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์. วารสารวิทย
บริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ปีที่ 27 ฉบับที่ 1. (น. 1-8) สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ภาษาต่างประเทศ
Brown, J. S., Collins, A., & Duguid, P. (1989). Situated cognition and the culture of learning.Educational researcher, 18(1), 32-42.
Duffy, T.M., & Cunningham, D.J. (1996). CONSTRUCTIVISM: Implications for the design and delivery of instruction, In Hanbook of Research for Educational Communications
and Technology. D.H. Joonassen (Ed.). NY: Simon & Schuster.
Hannafin, M. L. Susan & Oliver, K. (1999). Open Leaning Environments : Foundations, Methods , and Models. Instructional Designing Theories And Models :A New
Paradigm of Instructional Theory Volume II., Charles M. Reigeluth (Ed.)., Lawrence Erlbaum Associates., Mahlway, N.J., pp.115 – 140.
Honebein, P.C., Duffy, T.M. & Fishman, B.J., (1993). Constructivism and the design of learning emvironments: Context and authentic activities for learning , In
Designing environments for constructive learning, T.M. Duffy, J., Lowyck & D.H. Jonassen (Eds.). Berlin; New York: Springer – Verlag.
Jonassen, D.H., Reeves, T.C. (1996). Learning with teachnology: Using computers as cognitive tools, In Handbook of research for educational communications and
technology, D.H. Jonassen (Ed.), NY: Macmillan.
Jonassen, D.H. (1996). Computers in the Classroom : Mindtools for critical thinking. Columbus, OH: Prentice – Hall.
Piaget. (1962). The Stages of Intellectual Development of the Child. in Thinking and Reasoning. New York: Penguin Book.
Vygotsky, L. S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological processes. Harvard university press.