การนำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคต (School Administrators’ Ethical Leading for the Future)
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
การนำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคต เป็นวิธีการปฏิบัติตนที่ครอบคลุมพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาใน 3 ด้าน คือ 1) จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคตในการครองตน ประกอบด้วย พูดจริง ข่มใจ อดทน และใจกว้าง 2) จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคตในการครองคน ประกอบด้วย ความรักใส่ใจ ความสงสาร เบิกบานพลอยยินดี และมีใจเป็นกลาง และ 3) จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคตในการครองงาน ประกอบด้วย มีใจรัก พากเพียรทำ จดจำจ่อจิต วินิจวิจัย ผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคตสามารถบ่มเพาะจริยธรรมทั้ง 3 ด้านดังกล่าวได้โดยยึดหลักหัวใจนักปราชญ์ 4 ประการ คือ สุ จิ ปุ ลิ การนำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาแห่งอนาคตจะส่งผลให้สามารถพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษที่ 21 มีปัญญาที่เฉียบแหลม มีทักษะที่เห็นผล มีสุขภาพที่แข็งแรง มีจิตใจที่งดงาม เป็นสังคมที่มีความหวัง เปี่ยมสุข และมีความสานฉันท์
คำสำคัญ : ผู้บริหารสถานศึกษา, การนำเชิงจริยธรรมแห่งอนาคต, ศตวรรษที่ 21
Abstract
School administrators’ ethical leadership for the future is a way of behaviors that cover the behavior of school administrators in 3 aspects. 1) The ethics of the school administrators for the future in their domination, consisting of Truth and honesty, Taming and training oneself, Tolerance and Liberality. 2) The ethics of the school administrators for the future in the dominance of people, including Living-kindness, Compassion, Sympathetic joy and equanimity. 3) The ethics of the school administrators for the future in holding the job, consisting of Zeal, Effort, Thoughtfulness and Investigation. The school administrators for the future can indoctrinate these three areas of ethics, based on the four wise men principle, consisting of Listening, Thinking, Asking and Writing. School administrators’ ethical leadership for the future will result in the development of Thai people as complete human beings in the 21st century, have wit, have skills, healthy, beautiful mind and a society of hope and prosperity.
Keywords: school administrator, leadership for the future, 21st century
Article Details
References
ภาษาไทย
กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (2560). พิมพ์เขียน Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556, (2556, 4 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 130 ตอนพิเศษ 130 ง, หน้า 65-71.
โครงการผู้นำแห่งอนาคต. (2560). ผู้นำแห่งอนาคต. นครปฐม : โครงการผู้นำแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิตจะLearn. (2018). ถอดบทเรียนเคล็ดวิชาผู้นำ สัจจะและผู้นำองค์กร. Retrieved October 2, 2018, form https://www.gotoknow.org/posts/504496.
ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง. (2558). “ผู้นำแห่งอนาคต เข้าใจวัฒนธรรมต่าง และรู้ทันโลก.” วารสารจันทรเกษมสาร ปีที่ 21 ฉบับที่ 41 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 1-8.
ธีรังกูร วรบำรุงกุล. (2560). กฎหมายการศึกษา. จันทบุรี : ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
นิยม ไผ่โสภา. (2543). “พฤติกรรมการครองตน ครองคน และครองงาน ตามแนวพุทธธรรมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดนครพนม”, วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญมี แท่นแก้ว. (2546). จริยธรรมกับชีวิต. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ปวีณา กันถิน. (2560). “ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประชารัฐ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ และศิลปะ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2560): 1833-1848.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2556). พุทธวิธีในการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ : พิมพ์สวย จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 30. กรุงเทพฯ : มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต.
พระภาวนาวิริยคุณ (ทตฺตชีโว ภิกฺขุ). (2547). คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ชมรมพุทธศาสน์สากล.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, (2542, 19 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก, หน้า 1-23.
พระสมุห์สายัณ จนฺทวณฺโณ (หม้อกรอง). (2554). “การศึกษาวิเคราะห์จาคะในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พาสนา จุลรัตน์. (2561). “การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุค Thailand 4.0”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ และศิลปะ. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2561): 2363-2380.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560, (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, หน้า 1-90.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ว.วชิรเมธี. (2551). คำสำราญ งานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2544). เชาว์อารมณ์ (EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จของชีวิต. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ศักดิ์สินี เอมะศิริ. (2557). ผู้นำแห่งอนาคต: คุณธรรม การนำร่วม และการเปลี่ยนแปลงจากภายใน. นครปฐม : โครงการผู้นำแห่งอนาคต ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สุคนธ์ สินธพานนท และคณะ. (2554). วิธีสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดบุคเซ็นเตอร.
สุรัตน์ ไชยชมภู. (2557). “ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการบริหารสถานศึกษา.” วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (เมษายน-กันยายน): 1-15.