ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตร และสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (Factors affecting happiness in the farming practices of undergraduates in agricultural and environmental education program, faculty of Education and Development Sciences, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus)
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1 ) ศึกษาระดับความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และ
2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ทำการศึกษากับกลุ่มประชากร คือ นิสิตปริญญาตรี
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคต้นปีการศึกษา 2560 ชั้นปีที่ 1 – 4 จำนวน 256 คน โดยใช้แบบสอบถามระดับความคิดเห็นเป็นเครื่องมือในการวิจัย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาอยู่ในระดับมาก (μ = 3.94, σ = 0.54 ) และ 2).ปัจจัยที่มีผลความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา พบว่า ตัวแปรความรักในงาน สิ่งอำนวยความสะดวก สุขภาพกาย และสัมพันธภาพกับอาจารย์ สามารถอธิบายความแปรปรวนของความสุขในการทำงานฟาร์มของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาได้ร้อยละ 71.0 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ดังสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ŷ = - 0.151 + .706 X3 + .114 X8 + .112 X1
+ .098 X7
คำสำคัญ : ความสุขในการทำงาน, งานฟาร์ม, เกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา
Abstract
The purposes of this study were to 1) investigate the level of happiness in the farming practices of undergraduates in Agricultural and Environmental Education program, Faculty of Education and Development Sciences, Kasetsart University, and 2) identified the factors affecting happiness in the farming practices of undergraduates in Agricultural and Environmental Education program, Faculty of Education and Development Sciences, Kasetsart University. The population consisted of 256 undergraduates for the first semester of the 2018 academic year. Tools for measuring the happiness in the farming practices were questionnaires. Data were analysed using statistical methods comprising frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis.
The findings revealed that the overall mean happiness in the farming practices of undergraduates in Agricultural and Environmental Education program was at a high level
(μ = 3.94, σ = 0.54). In addition, the results from stepwise multiple regression analysis indicated factors affecting happiness in the farming practices of undergraduates in Agricultural and Environmental Education program. The factors included a passion for work, facilities, health, and good relationships with instructors that had statistically significant affecting happiness in the farming practices of undergraduates in Agricultural and Environmental Education program at the 0.001 level. These factors accounted for 71 percent of variance happiness in farming practices. The prediction equation in raw score Ŷ = - 0.151 + .706 X3 + .114 X8 + .112 X1 + .098 X7
Keywords: happiness working, farming practices, agricultural and environmental education
Article Details
References
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และ อุษา ชูชาติ. (2545). ฝึกสมองให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
Commission of national education. (1997). (rabop kānprakan khunnaphāp læ māttrathān kānsưksā hǣng chāt)[ "Quality assurance systems and standards. National Education"]. BangKok: pimdee
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. .(2540). “ระบบการประกันคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาแห่งชาติ”. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี.
Commission of national education. (1997). “thritsadī kān rīanrū thāng dān lak thritsadī læ nǣo patibat” [ Theory of learning theory and practice primary side]. BangKok: idea-square.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2540). ทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านหลักทฤษฎี และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไอเดียร์สแควร์.
Department of Human and Community Resource Development. (2011). “laksūt witthayāsāt bandit sākhā kasēt læ singwǣtlō̜m sưksā laksūt prapprung Phō̜.Sō̜. 2554.”[ Bachelor of Agricultural Science and Environmental Education. Program. Fri. 2554]. Nakhon Pathom. Kasetsart University Kamphaeng Saen.
ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน. (2554). หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2554. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
Institute for the promotion and development of innovation, (2011. May 9 ). “sing prakǭp samkhan thī thamhai kānthamngān mī khwām suk”[ The important component that makes work happily]. Retrieved from https:/dnfe5.nfe.go.th/ilp/42023/42022-4.html.
สถาบันส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้. (2554 พฤษภาคม 9). “สิ่งประกอบสำคัญที่ทำให้การทำงานมีความสุข” Retrieved from https:/dnfe5.nfe.go.th/ilp/42023/42022-4.html,
Kasetsart University. (2016). “phǣn yutthasāt kānphatthanā bukkhalākǭn mahāwitthayālai kasētsāt . 2556. pī Phō̜.Sō̜. 2556 - 2560” [ Strategic Plan for the Development of Kasetsart University. 2556. Year 2556-2560.]
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ( 2559). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2556. ปี พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๐.
Kitti praphat, S. Sawsngfa, O. Fachachoeen, C. Phaothawi, N. & Nit nithi phrut, K.(2007 April 30). “khwām suk : krabūan that mai samrap kānphatthanā læ nayōbāi sāthārana”[ Happiness: A New Paradigm for Development and Public Policy.]. Retrieved from https://www.happysociety. Org /EN/paper/paper09.pdf.
เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์, อรณิชา สวางฟา, แคทเทอรนี เอ็ม ฟชเชอร, ณัฐวุฒิ เผาทวี, และกนกพร นิตย์นิธิิพฤทธิ์. (2550 เมษายน 30). ความสุข: กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับการพัฒนาและนโยบายสาธารณะ. Retrieved from https://www.happysociety.org/EN/paper/paper09.pdf
Manion, J., (2003), Joy at Work: Creating a Positive Workplace, Journal of Nursing AdministrationWarr .
Menapho, R.(2007). “khrư̄angmư̄ wat kānthamngān yāng mī khwām suk kō̜ranī sưksā naksưksā phāk phisēt radap parinyā thō sathāban bandit phatthana bō̜rihān sāt”[Tracking work happily. Special Case Study]. (master’s). National Institute of development administration.
รวมศิริ เมนะโพธิ์. (2550). “เครื่องมือวัดการทำงานอย่างมีความสุข กรณีศึกษานักศึกษาภาคพิเศษ ระดับปริญญาโท สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์”. สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Phimphapho̜n, T , Phasu non, P. (2016) ʻongprakō̜p khwām suk kānthamngān khō̜ng phanakngān radap patibatkān nai thurakit rōngrǣm mư̄ang Phatthaya [Work Happiness Component of Operating Staff in Hotel Business, Pattaya City]. Veridian E-Journal, Silpakorn University. Year 9 No. 1 January – April, 2559:121 – 139.
ถิตรัตน์ พิมพาภรณ์, ประสพชัย พสุนนท์. (2559). องค์ประกอบความสุขการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจโรงแรมเมืองพัทยา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เมษายน 2559: 121 – 139.
Phom noi, S. (2008, June). “khwām suk nai kānthamngān - sūn sukkhaphāp čhit čhangwat Trang”
[ Happiness at Work - Mental Health Center Trang.]. Retrieved from https://oknation .nationtv .tv/blog/print.php?id=278062
ศิรินทร์ทิพย์ ผอมน้อย. (2551 มิถุนายน). ความสุขในการทำงาน-ศูนย์สุขภาพจิตจังหวัดตรัง. หนังสือพิมพ์ฅนตรัง. 20 ธันวาคม 2559. Retrieved from https://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=278062
Sawaengphon, N. (2011). “patčhai thī mī phon tǭ khwām suk nai kānthamngān khō̜ng bukkhalākǭn khana bō̜rihān thurakit mahāwitthayālai theknōlōyī rāt mongkhon”[ Factors affecting happincess in personnel working at faculty of business administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi]( (master’s). Rajamangala University of Technology Thanyaburi.
นฤมล แสวงผล. (2554) “ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล”. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Sinthanapanya, A. Songbandit, A. Bunthima, R. & Suphakit V. (2014). “kānbǭrihān khwām suk nai sathān sưksā”[ Executive happy in school]. Dhurakij Pundit University Research Service Center. Vol. 28 88 year review. Page: 15-32.
อธิคุณ สินธนาปัญญา อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์ ราชันย์ บุญธิมา และวีระ สุภากิจ. (2557). “การบริหารความสุขในสถานศึกษา”. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 88: เลขหน้า : 15-32.
Sisa-at, B. (2011). “lakkān wičhai bư̄angton”. [Preliminary research]. Bangkok: suweeriyasan.
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สุวิริยาสาส์น.
Supnui, K. tanPhichai, P supanyo, W.(2013) “kānphatthanā laksūt fưk ʻoprom phū nam kitčhakam thāngkān kasēt læ singwǣtlō̜m sưksā dōi chai fām mahāwitthayālai pen thān kān rīanrū” [The Development of Training Curriculum on Leadership in Agricultural and Environmental Education Activities Using a University’s Farm as a Learning Resource] Kasetsart J. (Soc. Sci) 34 : 1 – 14.
กาญจนา ทรัพย์นุ้ย ประสงค์ ตันพิชัย และ วีรฉัตร์ สุปัญโญ. (2556). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมผู้นำกิจกรรมทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้ฟาร์มมหาวิทยาลัยเป็นฐานการเรียนรู้. ว.เกษตรศาสตร์(สังคม). 34, 1 - 14-.
Supsuk, S.(2015). “khwāmsamphan rawāng kānraprū laksana ngān phāwa phū nam kān plīanplǣng khō̜ng hūanā hǭ phūpūai kap khwām suk nai kānthamngān khō̜ng phayābān pračhamkān rōngphayābān mahāwitthayālai khō̜ng rat”[ Relationships between work characteristics, transformational leadership of head nurses and joy at work of staff nurses, governmental university hospitals]. (master’s). Chulalongkorn University.
พรรนิภา สืบสุข. (2558). “ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ลักษณะงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยของรัฐ”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Suwankhiri, D. (2007). “khwāmsuk Pǣt Prakānnaithīthamngān”. [Happy Workplace], BangKok.
ดลฤดี สุวรรคีรี. (2550). ความสุข 8 ประการในที่ทำงาน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, กรุงเทพมหานครฯ.
Traimongkhonkun, P. ,& Attraphon. S. (2012). “kānʻǭkbǣp kānwičhai”[ Research Design]. BangKok: Publisher Kasetsart University.
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และ สุภาพ อัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ThawiTangtrakoon, W TanPhichai, P. Sisunuantaeng, S (2014). patčhai thī mī phon tō̜ ʻattalak khō̜ng nisit sākhā wichā kasēt læ singwǣtlō̜m sưksā mahāwitthayālai kasētsāt [Factors Affecting to the Identities of Students Majoring in Agriculturaland Environmental Education, Kasetsart University] Veridian E-Journal, Silpakorn University. Year 7 No. 3, September-December 2014:754-769.
วรรณวิภา ทวีตั้งตระกูล, ประสงค์ ตันพิชัย, สันติ ศรีสวนแตง. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์ของนิสิตสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2557: 754 - 769.
Warr, P. (2007). Work, happiness, and unhappiness. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Wasanthanarat, C.(2010). “CSR Naiʻongkō̜n Kāonāyāngmīkhwāmsukdūai Happy Workplace” [Inner CSR by Happy 8], BangKok: songkha-creation.
ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์. 2553. CSR ในองค์กร ก้าวหน้าอย่างมีความสุขด้วย Happy Workplace . พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม. กรุงเทพมหานคร: สองขาคลีเอชั่น.
Wasi, P. (1998). “bon sēnthāng mai kān songsœ̄m sukkhaphāp ʻaphiwat chīwit læ sangkhom”[ On the new road to promote health, infringe life and society]. BangKok: thaihealthbook.
ประเวศ วะสี. (2541). บนเส้นทางใหม่การส่งเสริมสุขภาพ อภิวัตน์ชีวิตและสังคม, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.