กระบวนการเป็นผู้ประกอบการ: กรณีศึกษาเค้กจารีย์ จังหวัดเพชรบุรี (Entrepreneur Process: Case Study Jaree Bakery Phetchaburi Province)

Main Article Content

พนัชกร สิมะขจรบุญ ( Panuschagone Simakhajornboon )
รุ่งนภา สมสกุล ( Rungnapa Somsakul )

Abstract

                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการเป็นผู้ประกอบการ 2) ปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการเค้กจารีย์ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ประกอบการเค้กจารีย์และพนักงาน จำนวน 2 คน โดยเค้กจารีย์เป็นร้านเบเกอรี่ที่มีความโดดเด่นทางด้านรสชาติของขนมที่มีความแตกต่างจากร้านอื่นในจังหวัดเพชรบุรีจนได้รับการออกข่าวทางไทยทีวีสีช่องสาม นำข้อมูลมาตรวจสอบความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูล วิเคราะห์เนื้อหา จัดหมวดหมู่ของข้อมูล สรุปผลการศึกษาและนำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการเป็นผู้ประกอบการของเค้กจารีย์ ประกอบด้วย 1) การเกิดนวัตกรรม 2) การตัดสินใจเลือก 3) การลงมือปฏิบัติ และ 4) การเติบโต ปัญหาและอุปสรรคของทางร้าน คือ ขนาดของร้าน และการจัดการด้านการตลาด


 


                 The objectives of this research were to study 1) The process of becoming an entrepreneur 2) Problem and obstacle of the Jaree bakery. Data were collected through in-depth interview. The key information was the owner of Jaree bakery and employee. Jaree bakery has a distinctive taste of bakery that is different from other stores in Phetchaburi province and has been promoted in TV show. Data was check the completeness and accuracy, content analysis, classification of data, conclusions and results are presented in descriptive form. Verification of data reliability by triangulation.  The study indicated that the process of becoming an entrepreneur consists of: 1) Creating an Innovation 2) Triggering event 3) Implementation and 4) Growth. The problems and obstacles are size-space of its store and marketing management.


 

Article Details

Section
Humanities, Social Sciences, and Arts

References

ภาษาไทย
กนกวรรณ กิ่งผดุง และสุจินต์ วุฒิชัยวัฒน์. (2560). การประยุกต์ใช้ต้นทุนฐานกิจกรรมใช้กับกระบวนการผลิตนม
พาสเจอร์ไรซ์ กรณีศึกษาในโรงงานอุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก. Veridian E-Journal, Slipakorn
University. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 10 (1), 1661-1679.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ธุรกิจครอบครัว. เข้าถึงได้จาก https://www.industry.go.th/
industry/index.php/th/knowledge/item.
โครงการส่งเสริมพัฒนาตลาดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ SMEs. (2560). องค์ประกอบคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์.
เข้าถึงได้จาก https://www.smego.rmutt.ac.th.
โครงการส่งเสริมพัฒนาตลาดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ SMEs. (2560). 4Ps สุดยอดคัมภีร์ของนักการตลาด.
เข้าถึงได้จาก https://www.smego.rmutt.ac.th.
ไชยยศ ไชยมั่นคง และมยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง. (2557). การจัดการซัพพลายเชนและช่องทางการตลาด.
กรุงเทพฯ: บริษัท วิชั่นพรีเพรส จำกัด.
ดารา ทีปะปาล และธนวัฒน์ ทีปะปาล. (2553). การสื่อสารทางการตลาด. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
ทัตเทพ เยาวพัฒน์. (2561). เทคนิคการมอบหมายงานและการติดตามงาน. เข้าถึงได้จาก https://kromchol.
rid.go.th.
ภาวิณี กาญจนาภา. (2554). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.
รักษ์ วรกิจโภคาทร. (2547). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ราณี อิสิชัยกุล. (2560). แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นผู้ประกอบการ. เข้าถึงได้จาก https://www.sms-
stou.org/archives/2225.
วันวิสาข์ โชคพรหมอนันต์ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีต่อความสำเร็จ
ในการดำเนินธุรกิจ ของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม. Veridian E-
Journal, Slipakorn University. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 8
(2), 976-988.
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2551). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โฟรเพซ.
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ. (2560). เจาะเทรนด์โลก 2018. กรุงเทพฯ: TCDC: IN/TO the future. เข้าถึงได้
จาก https:// web.tcdc.or.th/th/Publication/Detail/เจาะเทรนด์โลก2018
สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2543). ก้าวสู่ความเป็น
ผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: กระทรวงอุตสาหกรรม.
สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2548). ธุรกิจร้านเบอเกอรี่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์หาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
สถาบันอาหาร. (2558). ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในประเทศไทย. เข้าถึงได้จาก https://fic.nfi.or.th/
MarketOverviewDomesticDetail.php?id=77.
สุธีรา เดชนคริทร์. (2553). ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการขั้นแนะนำ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สมคิด บางโม. (2559). การเป็นผู้ประกอบการ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: พัฒนวิทย์การพิมพ์.
สมชาติ กิจยรรยง. (2555). เทคนิคการขายที่ประสบความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.
สินีนาถ วิกรมประสิทธิ. (2551). เทคนิคการขายและบริการให้ลูกค้าประทับใจ. เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/
PC/Desktop/urujournal0407-oct50-mar51-01.pdf.
สุภางค์ ฉันทวานิช. (2557). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2549). สุดยอดนวัตกรรมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2557). การสำรวจพฤติกรรมการบริโภค
อาหารของประชากร พ.ศ. 2556. กรุงเพทฯ: สำนักสถิติพยากรณ์.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2553). Competency-based Training Road Map. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์
จำกัด.
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. (2561). การบริหารความเสี่ยง. เข้าถึงได้จาก https://www.thai-
sciencemuseum.com.
อุดมศักดิ์. (2557). เถ้าแก่มืออาชีพ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: eReader Thailand (2014). เข้าถึงได้จาก https://
books.google.co.th/books?id=M4dCAgAAQBAJ&printsec=frontcover&source=
gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false
อำนาจ ธีระวนิช. (2549). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
SMARTSME. (2559). เลือกทำเลที่ตั้งร้านอาหารอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ. เข้าถึงได้จาก https://
www.smartsme.co.th/content/34166.
SME Thailand. (2560). พฤติกรรมผู้บริโภคชาวไทย. เข้าถึงได้จาก https://www.smethailandclub.com/
trick-2522-id.html.
ภาษาต่างประเทศ
Bygrave, W., & Zacharakis, A. (2011). Entrepreneurship. 2nd Ed. USA: John Wiley & Sons.
Pacharavanich, Krisada. (2000). The Franchise Performance Comparison Between The Thai
Franchise and The International Franchise in Thailand During 1992-1998. Doctoral
Dissertation, Wayne Huizenga Graduate School of Business Entreprenneurship, Novo
Southeastern University.
Patton, M. Q. (1990). Qualitative evaluation and research methods. 2 nd ed. Beverly Hills,
CA:Sage.
Xaiver, S. R., et al. (2013). Global Entrepreneurship Monitor: 2012 Global Report. Kuala Lumpur,
Malaysia: Global Entrepreneurship Research Association. Retrieved https://www.
gemconsortium.org/report/48545