บทบาทการส่งผ่านของตัวแปร: หลักการและการนำไปใช้ (The Mediating Roles: Principle And Applied)
Main Article Content
Abstract
ความพยายามในการอธิบายปรากฏการณ์ที่ตัวแปรตัวที่สามเข้าแทรกกลางระหว่างความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นเหตุและผล เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรคั่นกลางหรือตัวแปรส่งผ่าน ตัวแปรดังกล่าวทำหน้าที่รับอิทธิพลจากตัวแปรต้นเหตุและต่อไปถึงตัวแปรผล โดยการทำหน้าที่ของตัวแปรส่งผ่านมี 2 ลักษณะ คือ การส่งผ่านแบบสมบูรณ์ (complete mediation หรือ full mediation) และการส่งผ่านบางส่วน (partial mediation) บทความนี้จะอธิบายถึงความหมายของตัวแปรส่งผ่าน บทบาทของตัวแปรส่งผ่าน การตรวจสอบตัวแปรส่งผ่านในโมเดลเชิงสาเหตุตามแนวคิดของ Baron & Kenny (1986) เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม LISREL พร้อมยกตัวอย่างประกอบ การศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรส่งผ่านนี้จะช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆให้กับนักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษา และผู้ที่สนใจ
The attempt to explain situation that the third variable intervene the relationship between the predictor and the criterion, is the starting point of the studying intervene variable or mediator variable. There are 2 types of mediation roles including complete mediation or full mediation and partial mediation This article attempt to explain meaning of mediator variable, mediation role, testing for mediation in casual model from the concept of Baron & Kenny (1986) by using LISREL. This Study will full fill knowledge about relationship between variables for researchers, academic scholars, students and others.