การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหา สำหรับอุดมศึกษา (Development of Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education) -
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา 2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการแก้ปัญหาก่อนและหลังของผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังของผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ลงทะเบียนเรียน วิชาชุดการสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินแบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1) รูปแบบการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา อยู่ในเกณฑ์เหมาะสม ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2) องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้ 3) การจัดกระบวนการเรียนการสอน และ 4) ผลที่เกิดจากการใช้รูปแบบ
2) ผลการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการแก้ปัญหาก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4) ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการแก้ปัญหาสำหรับอุดมศึกษา พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
The purpose of this research were: 1) to develop of Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education 2) to compare the Problem Solving Skills of students before and after using of Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education 3) to compare the students’ learning achievement before and after using Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education. and 4) to study the students’ satisfaction of using the Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education
The sample group consisted of 60 undergraduate students who enrolled in Instructional Packages during the first semester of the academic year 2017, Department of Educational Technology and Communication Faculty of Technical Education Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Research Instruments consisted Learning plan, interviews questionnaires, Problem Solving Skills test, achievement test and Satisfaction Questionnaire. Data were analyzed through the mean, standard and t-test sample method.
The results were as follows: 1) the developed Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education composed four parts were presented as follows: 1.1) Principles, concepts and theories 1.2) The Process of Learning model 1.3) Instructional Activities and 1.4) Instructional and Nurturant Effects. 2) The students had posttest of Problem Solving Skills was higher than pretest at the 0.05 level of significant. 3) The students had posttest of learning achievement was higher than pretest at the 0.05 level of significant, and 4) The samples were very satisfied with learning from Ubiquitous Learning Model to Enhance Students’ Problem Solving Skills for Higher Education
Article Details
References
radap ʻāchīwasưksā ” [Development of the Ubiquitous Learning Environment Model to Promote the Problem Solving Thinking Skills of Vocational
Education Students]. (PhD. thesis). Rajabhat Maha sarakham University, Maha sarakham.
เกล็ดนที ไชยชนะ. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัสที่ส่งเสริมความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาสำหรับการศึกษาระดับอาชีวศึกษา.
วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
Hopkins, M.H. (1985). A Class Model for Diagnosing the Problem Solving of Elementary School Students. Dissertation Abstracts International. 45; March.
Laisema, S., Wannapiroon, P. and Prachyanun, N. (2515). “rabop kānčhatkān rīanrū rūam kan dūai thīm samư̄an nai saphāpwǣtlō̜m kān rīan bǣp
yūbikwitat”.[Ubiquitous Collaborative Virtual Teams Learning Management System]. Bangkok: King Mongkut's University of Technology Ladkrabang.
สิทธิชัย ลายเสมา, ปณิตา วรรณพิรุณ, และปรัชญนันท์ นิลสุข. 2558. ระบบการจัดการเรียนรู้ร่วมกันด้วยทีมเสมือนในสภาพแวดล้อมการเรียนแบบยูบิควิตัส. ในการประชุมวิชาการ
ระดับชาติโสตฯ–เทคโนฯ สัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29 (น. 45-51). กรุงเทพฯ: หอประชุมใหญ่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
Munkham, S. (2008). “konlayut kānsō̜n khit kǣ panhā ” [Strategies for teaching problem solving]. (4th ed.). Bangkok: Parbpim.
สุวิทย์ มูลคำ. (2551). กลยุทธ์การสอนคิดแก้ปัญหา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
Office of the Education Council. (2007). “nǣothāng kān čhak kān rīanrū thī nēn phū rīan pen kānčhatkān rīanrū bǣp krabūankān kǣ panhā” [Guidelines
should emphasize that learning is important for the students learning process solutions]. Bangkok: The agricultural co-operative federation of
Thailand.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550 ). แนวทางการจักการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา .กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.
Office of the National Education Commission. [n.d.]. “nǣo kānčhatkān sưksā tāmpha ra rāt banyat kānsưksā hǣng chāt” [Education guidelines of the National
Education Act]. Retrieved January 5, 2017, from: https://www.onec.go.th/
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. [ม.ป.ป.]. แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2560, จาก
https://www.onec.go.th/
Phumeechanya, N. (2017). “rabop kān rīanrū phakhwantaphāp bǣp sāng sakkayaphāp dōi chai panhā pen lak phư̄a songsœ̄m thaksa kān kǣ panhā læ
kānraprū bō̜ribot” [A Problem-Based Ubiquitous Scaffold Learning System to Enhance Problem-Solving Skills and Context Awareness]. Bangkok:
King Mongkut's University of Technology North.
นพดล ผู้มีจรรยา. (2557). ระบบการเรียนรู้ภควันตภาพแบบสร้างศักยภาพโดยใช้ปัญหาเป็นหลักเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและการรับรู้บริบท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Premsmith, C. (2016). “rabop kānčhatkān rīanrū bǣp thāthāi nai saphāpwǣtlō̜m phakhawat phāp bon khalā phư̄a songsœ̄m thaksa kān kǣ panhā chœ̄ng
khwām čhing khō̜ng naksưksā parinyā trī” [Challenge-Based Learning Management System on Ubiquitous Cloud Environment to Enhance
Real-World Problem-Solving Skills for Undergraduate Students]. (phd thesis). King Mongkut's University Of Technology North, Bangkok.
จักรกฤษณ์ เปรมสมิทธ์. (2559). ระบบการจัดการเรียนรู้แบบท้าทายในสภาพแวดล้อมภควัตภาพบนคลาวด์เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาเชิงความจริงของนักศึกษาปริญญาตรี.
วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพฯ.
Seddon, G.M., P.A. Eniaiyeju and J. Josoh. (1984). The Visualization of Rotation in Diagrams of Three Dimensional Structure American Ed.
Research Journal. 21(1), 25-38.
Sinthapanan, S. and others. (2002). “kānčhat krabūankān rīanrū nēn phū rīan pen samkhan” [The learning process focused on the learner]. Bangkok:
Aksorn Charoen Tat ACT.
สุคนธ์ สินธพานนท์ และคนอื่น ๆ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์ อจท.
Upgrading Teacher Qualification Through The Whole System. (2013). “kānčhatkān rīanrū thī nēn phū rīan pen samkhan : kānčhatkān rīanrū bǣp krabūankān
kǣ panhā ” [Child-Centered Learning Management: Problem-Based Learning Management]. Retrieved on March 10, 2017 from
https://pound1983.files.wordpress.com/2012/06/utq-2135.pdf
โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบด้วยระบบ e-training. (2556). การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม
2560, จาก https://pound1983.files.wordpress.com/2012/06/utq-2135.pdf
Weiser Mark. (1991). Some computer science issues in ubiquitous Computing Communications of The ACM. 36(7), 74-83. In Special Issue,
Computer-Augmented Environments. Retrieved January 5, 2017, from
https://www.ascilite.org.au/conferences/perth04/procs/jones.html