การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน)เพื่อเสริมสร้าง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

ปิยะวรรณ ช่างทอง

Abstract

       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) เพื่อเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  2) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ (ป่าชายเลน) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) ทดลองใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) 4) ประเมินและปรับปรุงชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ (ป่าชายเลน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนเทศบาลบ้านหัวหิน(ประชาธิปถัมภ์) จำนวน 39 คน ปีการศึกษา 2558 ใช้เวลา 12 ชั่วโมง     แบบแผนการวิจัย One Group Pretest-Posttest Design

       เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน)แผนการจัด การเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้แบบสังเกตทักษะทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมิน จิตวิทยาศาสตร์ และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) การวิเคราะห์ข้อมูล (%)ค่าเฉลี่ย ( ̅x) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) และหาค่า (t – test  dependent)

       ผลการวิจัย 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) เพื่อเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ83.80/81.03  2) ผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน)เพื่อเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน)  มีทักษะทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูง 4) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) มีจิตวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดีมาก 5) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้(ป่าชายเลน) โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า  

 

        The purposes of this research were to 1) Study the fundamental data to the  development of learning activity package based on community learning (Mangrove forest) for  enhance science skill of sixth grade students. 2) develop and assess for learning activity package  based on community learning (Mangrove forest) with standard criterion of to 80/80 3)  implement of  the learning activity package 4) evaluate and improve for learning activity package based on  community learning (Mangrove forest). The sample consisted of 39 students of the sixth grade during  the first semester of academic year 2015 of BanHuaHin Municipality School. The duration of the implementation coverd 12 hours. The research design was  one group pretest-posttest design.

         The  research  instruments  is  learning  activity  package  based  on  community learning  (Mangrove forest) lesson plan learning evaluated test,Science skill test, psychology test and  qurstionaire about opinion on learning management by using community learning (Mangrove forest). The  obtained  data  were  analyzed by  percentage, mean, standard  deviation,  dependent  t – test  and  content analysis.

         The findings were as follows 1) learning activity package based  on  community learning  (Mangrove forest) for enhance science skill  of sixth grade students  which  was  made, had  efficiency  on standard that  specification at 83.80/81.03  2) School – record  of  students  who used  learning  activity  package based  on  community learning (Mangrove forest) for enhance science  skill  of  sixth grade  students found  that school – record after learning more than school – record  before  learning  with  a  difference was statistically significant at  the .01  level. 3) Students  who obtained  learning activity package based on community learning (Mangrove forest) found that the students  had  science skill at the high level. 4) Students who obtained learning  management by using  activity package based on community learning  (Mangrove forest) found  that the students had more science  psychology at the excellent level. 5) Students ‘opinion to learning  management by using activity package based on community learning  (Mangrove forest) found that perspective of the  opinion  was at excellent level when considered  each aspects found  that  students’opinion about  rake – off  aspects  was  at  exactly agreement  level  and  inferior  aspects  were learning  management  aspect  and  content  aspects.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ